ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSurasak Honghannarong ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ความหมายของอุปทาน
หนังสือหน้า 21 เลขหน้า 2/27 อุปทาน (Supply) อุปทาน หมายถึง “จำนวนสินค้า และบริการชนิดใดชนิดหนึ่งที่ธุรกิจจะนำ ออกขายในตลาดแห่งหนึ่ง ณ ระดับราคา ต่าง ๆ กัน ในระยะเวลาที่กำหนดให้”
2
กฎของอุปทาน (Low of supply)
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/กฎของอุปทาน หนังสือหน้า 23 เลขหน้า 2/31 กฎของอุปทาน (Low of supply) “ถ้าสิ่งอื่น ๆ อยู่คงที่ จำนวนขายสินค้าและบริการ ชนิดใดชนิดหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกันกับ ราคาของสินค้าและบริการชนิดนั้นเสมอ”
3
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ปัจจัย
หนังสือหน้า 22 เลขหน้า 2/28 ปัจจัยกำหนดอุปทาน 1) ระดับราคาสินค้าในตลาด (price : Px) 2) ต้นทุนการผลิต (cost : C) 3) สภาพดินฟ้าอากาศ (W) 4) ราคาของสินค้าและบริการอื่น ๆ ( Py) 6) เทคโนโลยี (technology : T)
4
Qx ปริมาณขายซื้อสินค้าและบริการ (อุปทาน)
ปัจจัย Qx ปริมาณขายซื้อสินค้าและบริการ (อุปทาน) อุปทานมาก อุปทานน้อย Px ราคาสินค้า C ต้นทุนการผลิต W สภาพดินฟ้าอากาศ Py ราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้อง T เทคโนโลยี
5
ฟังก์ชันอุปทาน (supply function)
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ฟังก์ชันอุปทาน หนังสือหน้า 23 เลขหน้า 2/29 ฟังก์ชันอุปทาน (supply function)
6
อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลภาพ/ตารางและเส้นอุปทาน
หนังสือหน้า 23 เลขหน้า 2/32 ตารางอุปทาน คือ ตารางตัวเลขที่แสดงถึงความสัมพันธ์ ระหว่างราคากับปริมาณเสนอขายสินค้า หรือบริการใดๆ ที่ผู้ต้องการขาย ในเวลา ขณะใดขณะหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆ กัน
7
ตารางอุปทาน และเส้นอุปทาน
อุปทานของผู้ขายที่มีต่อนมใน 1 สัปดาห์ ราคา (P) (บาท/ลิตร) ปริมาณ (Q) (ลิตร/สัปดาห์) 25 16 20 14 15 12 10 5 8 P Q
8
เส้นอุปทาน มีค่าความชันเป็นบวก 5
P(บาท/ลิตร) Q (ลิตร/สัปดาห์) 10 5 15 20 25 ราคา (P) ปริมาณ (Q) 25 16 20 14 15 12 10 5 8 20 14 เส้นอุปทาน มีค่าความชันเป็นบวก 5 8
9
ตารางที่ 2 ตารางอุปทานในการขายสมุดของโรงงาน A
ราคา (บาท/เล่ม) จำนวนขายสมุด (เล่ม/เดือน) 1 2 3 4 5 300 600 900 1,200 1,300 เส้นอุปทานในการขาย สมุดของโรงงาน A
10
การเปลี่ยนแปลงของอุปทาน
การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย (Change in Qunatity Supplied) การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปทานหรือการย้าย เส้นอุปทาน (Shifts in the Supply Curve)
11
การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย (Change in Qunatity Supplied)
การเปลี่ยนแปลงของปริมาณขายอันเนื่องมาจาก ปัจจัยโดยตรงหรือราคาสินค้านั้น โดยปัจจัยที่มี ผลโดยอ้อมทั้งหลายนั้นสมมติว่ามีค่าคงที่
12
1 การเปลี่ยนแปลงจำนวนขาย
1 การเปลี่ยนแปลงจำนวนขาย S ราคาสูงขึ้น จะทำให้จำนวนเสนอขายเพิ่มขึ้น โดยมีการย้ายจุดบนเส้น SS(จาก Aไป B) ราคาลดลง จะทำให้จำนวนเสนอขายลดลง โดยมีการย้ายจุดบนเส้น SS (จาก A ไป C)
13
การเปลี่ยนแปลงปริมาณขาย
เดิม P = 15 Q = 12 ใหม่ P = 25 Q = 16 ใหม่ P = 5 Q = 8 12 15 A 16 8 B C เส้นอุปทานไม่เปลี่ยนแปลง 25 5 P(บาท/ลิตร) Q (ลิตร/สัปดาห์) 10 5 15 20 25
14
การเปลี่ยนแปลงของเส้นอุปทานหรือการย้าย เส้นอุปทาน (Shifts in the Supply Curve)
ปัจจัยที่กำหนดอุปทานโดยอ้อมตัวใดตัวหนึ่ง หรือหลายตัวเปลี่ยนแปลงไป ทำให้ปริมาณขาย เปลี่ยนแปลง ในขณะที่ราคาสินค้านั้นคงเดิม ซึ่ง จะมีผลทำให้เส้นอุปทานเดิมเลื่อนไปทั้งเส้น
15
อุปทานเพิ่ม P Q 10 5 15 20 25 S1 12 18 S2
16
อุปทานลด 12 7 P Q 10 5 15 20 25 S1 S2
17
การเปลี่ยนแปลงอุปทานสำหรับรองเท้า กรณีที่มีการใช้เทคโนโลยีแบบต่าง ๆ
ราคา (บาท/คู่) จำนวนขายรองเท้า (คู่/เดือน) ในกรณีที่มีการใช้เทคโนโลยีแบบต่าง ๆ แบบเก่า (ไม่ใช้เทคโนโลยี) (S ) แบบปัจจุบัน (S) ใหม่ล่าสุด (S ) 10 20 30 40 50 150 200 300 100 400 250 350 450 2 1
18
2 การเปลี่ยนแปลงอุปทาน
2 การเปลี่ยนแปลงอุปทาน เส้นอุปทาน SS จะเปลี่ยนไปทางขวามือ เป็นเส้น S S เมื่อ • ต้องการยอดขาย • T • C • Py • W (อำนวย) เส้นอุปทาน SS จะเปลี่ยนไปทางซ้ายมือ เป็นเส้น S S เมื่อ • ต้องการยอดขาย • T • C • Py • W (ไม่อำนวย) 2 2
19
จงตอบคำถามต่อไปนี้ อุปทาน มีความหมายอย่างไร
ในปีที่เกิดภาวะฝนแล้ง อุปทานของสินค้าเกษตรจะเป็นอย่างไร ผู้ผลิตแต่ละรายจะผลิตสินค้าออกขายมากขึ้นเมื่อใด จงเขียนฟังก์ชั่นของอุปทาน ปัจจัยใดที่เป็นตัวกำหนดทั้งอุปสงค์และอุปทาน ปัจจัยใดที่ทำให้ปริมาณการเสนอขายสินค้า X เปลี่ยนแปลงอยู่บนเส้นอุปทานเส้นเดิม สาเหตุใดที่ทำให้เส้นอุปทานเปลี่ยนแปลงไปทางซ้ายของเส้นเดิม ถ้าต้นทุนการผลิตเพิ่มขึ้น เส้นอุปทานจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร เขียนรูปอธิบาย ถ้าราคาสินค้าอื่นที่เกี่ยวข้องสูงขึ้น เส้นอุปทานจะเปลี่ยนแปลงอย่างไร เขียนรูปอธิบาย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.