ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยTuani Chai'at ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
มูลเหตจูงใจในการทำงาน เต็มใจสนับสนุนให้งานซึ่งเราศรัทธาประสบความสำเร็จ
1) ถูกชะตา 2) มีความศรัทธา อำนาจบารมี เต็มใจสนับสนุนให้งานซึ่งเราศรัทธาประสบความสำเร็จ
2
ความเป็นมาและความสำคัญ ในการเสริมสร้างสุขภาพ
มหาวิทยาลัยมหิดล มีความโดดเด่นด้านวิชา การและการบริการทางการแพทย์ มีโรงพยาบาลในสังกัด 4 แห่ง คือ โรงพยาบาลศิริราช, โรงพยาบาลรามาธิบดี, โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน, ศูนย์-แพทย์กาญจนาภิเษก และ คลินิกทันตกรรมพิเศษ
3
บริการผู้ป่วยจากภายนอกปีละมากมาย แต่ยัง
มีบุคลากรของมหาวิทยาลัยจำนวนมากที่ไม่ได้ดูแล สุขภาพของตัวเองอย่างถูกต้อง ทั้งเรื่องโภชนาการ และการออกกำลังกาย มีปัญหาการเจ็บป่วยและโรค ประจำตัว หลายรายต้องเสียชีวิตก่อนเวลาอันควร มหาวิทยาลัยมหิดล ตระหนักถึงปัญหาดัง- กล่าว และเห็นว่าจำเป็นต้องเสริมสร้างสุขภาพของ บุคลากรให้ดีขึ้น เมื่บุคลากรมีสุขภาพดีทั้งกายและ
4
ใจที่ดี ย่อมส่งผลให้มีประสิทธิภาพการปฏิบัติหน้า
ที่การงานดีขึ้น อันจะยังประโยชน์ต่อมหาวิทยาลัย สังคม และประเทศชาติต่อไป
5
สภาพปัญหา การเสริมสร้างสุขภาพ
- ไม่มีการวางระบบสำหรับสุขภาพ - สภาพที่ตั้งของมหาวิทยาลัยอยู่ห่าง ไกลกัน สภาพปัญหา การเสริมสร้างสุขภาพ - ไม่มีศูนย์กลางในการจัดการและชี้นำ ในการเสริมสร้างสุขภาพ - การวัสดุ-อุปกรณ์ต่างๆที่จำเป็น - มีงบประมาณจำกัด
6
แนวทางการเสริมสร้างสุขภาพ
วิสัยทัศน์ บุคลากรของมหาวิทยาลัยมหิดล มีสุขภาพอนามัยถี่ถ้วนหน้า ภายในปี 2555 พันธกิจ ส่งเสริมบุคลากรให้ออกกำลังกายอย่างเหมาะสมกับสภาพร่างกายและอายุ ส่งเสริมให้บุคลากรได้รับการตรวจสุขภาพ อย่างน้อยปีละครั้ง
7
ยุทธศาสตร์สู่ความสำเร็จ -วางโครงข่ายชมรมทุกระดับ ทั้งคณะ /
ยุทธศาสตร์ที่1 -แต่งตั้งคณะอนุกรรมการเสริมสร้างสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่2 -ตั้งชมรมเสริมสร้างสุขภาพ ยุทธศาสตร์ที่3 -วางโครงข่ายชมรมทุกระดับ ทั้งคณะ / ภาควิชา / แผนก ยุทธศาสตร์ที่4 -จัดตั้งกองทุนเสริมสร้างสุขภาพ
8
ยุทธศาสตร์ที่5 -จัดกิจกรรมเพื่อประชาสัมพันธ์ จูงใจบุคลากรเสริมสร้างสุขภาพ และหารายได้เข้ากองทุน 5.1 -วิ่งเพื่อสุขภาพ 5.2 - แข่งขันจักรยานแรลลี่ 5.3 - แข่งขันโบลิ่งชิงถ้วย..... 5.4 - แข่งขันเปตองชิงถ้วย....
9
ดัชนีชี้วัดความสำเร็จ
1) จำนวนบุคลากรที่เป็นสมาชิกชมรมเสริมสร้างสุขภาพ เพิ่มขึ้นทุกปี จนถึงร้อยละ 80 ของจำนวนบุคลากร 2) จำนวนบุคลากรที่ออกกำลังกายเพิ่มขึ้นทุกปี ปีร้อยละ 20 จนถึงร้อยละ 80 3) จำนวนบุคลากรที่มีน้ำหนักเกินลดลงทุกปี ปีละร้อยละ 20 จนเหลือร้อยละไม่เกิน 80
10
4) จำนวนบุคลากรผู้ดื่มสุราลดลงทุกปี
ปีละร้อยละ 20 จนเหลือไม่เกินร้อยละ 10 ของผู้ดื่มสุราในปัจจุบัน 5) จำนวนบุคลากรผู้สูบบุหรี่ลดลงทุกปี ปีละร้อยละ 20 จนเหลือไม่เกินร้อยละ 10 ของผู้สูบบุหรี่ในปัจจุบัน 6) จำนวนบุคลากร ที่เบิกเงินค่ารักษาพยาบาลลดลง
11
คณะอนุกรรมการการส่งเสริมสุขภาพ
และออกกำลังกาย ผ.ศ.ถาวร กมุทศรี ที่ปรึกษา ที่ปรึกษาจากภายนอก
12
นายเกรียงไกร ตั้งสุขเกษมสันติ์
นายเกรียงไกร ตั้งสุขเกษมสันติ์ ประธานอนุกรรมการ นายสละ พิมพ์สำเภา รองประธานอนุกรรมการ
13
นายสุทธินันต์ ชลิทธิกุล อนุกรรมการและเลขานุการ นายฉัตรชัย เชิงทวี
นายสุทธินันต์ ชลิทธิกุล อนุกรรมการและเลขานุการ นายฉัตรชัย เชิงทวี อนุกรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ ผศ.อารมณ์ ตรีราช อนุกรรมการ นายสมชาย วิริยภิรมย์กูลอนุกรรมการ
14
นางอริศรา ตั้งจิตสราญอนุกรรมการ
นางอริศรา ตั้งจิตสราญอนุกรรมการ นส.อำภา สุจิณโณ อนุกรรมการ นางนันท์พร จิตรเพ็ชร อนุกรรมการ นายแดง ลมสูงเนิน อนุกรรมการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.