งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2

3 ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ จากผลการทดลองของนักวิทยาศาสตร์ที่ได้พัฒนาความรู้จากศาสตร์ 2 สาขา คือ สาขาฟิสิกส์ ได้แก่ เรื่องของแสงและกล้องถ่ายภาพ และสาขาเคมี ในส่วนที่เกี่ยวกับฟิล์มสารไวแสงและน้ำยาสร้างภาพ

4 ประวัติการถ่ายภาพ(2) การถ่ายภาพเป็นการรวมหลักการที่สำคัญ 2 ประการเข้าด้วยกันคือ การทำให้เกิดภาพจำลองของวัตถุสิ่งใดสิ่งหนึ่งให้ปรากฎบนฉากรองรับได้และการใช้สื่อกลาง ในการบันทึกภาพจำลองของวัตถุนั้น ให้ปรากฎอยู่ได้อย่างคงทนถาวร [Michael Busselle, The Encyclopedia of Photography,p10]

5 ประวัติการถ่ายภาพ(3) ในปี ค.ศ บริษัท อี.ไลซ์ (E.Leiz) แห่งประเทศเยอรมัน ได้ผลิตกล้อง ไลก้า 1 (Leica 1) ซึ่งเป็นกล้องที่ใช้กับฟิล์มขนาด 35 มม. ที่สมบูรณ์เป็นตัวแรก

6 ความรู้ แฟลช และเทคนิคการถ่ายภาพด้วยแสงแฟลช ช่องว่างกับมุมกล้อง
กฎสามส่วน (Rule of Third) ขนาดของหน่วยความจำและขนาดของภาพเมื่อนำไปอัด

7 ความรู้ - แฟลช และเทคนิคการถ่ายภาพด้วยแสงแฟลช
การใช้แฟลชช่วยในการถ่ายภาพได้ดังนี้ ช่วยให้สามารถถ่ายภาพในที่มืด หรือแสงสว่างไม่เพียงพอ แต่ต้องทำใจกับแสงสีที่ไม่เป็นธรรมชาติ เมื่อถ่ายภาพกลางแจ้งซึ่งแสงอาทิตย์ส่องมาด้านหลัง ทำให้วัตถุเกิดเงาดำ หรือการถ่ายย้อนแสง เราสามารถเปิดแฟลช ทำให้ได้รายละเอียดสวยงาม ช่วยให้ได้ภาพคมชัด ไม่พร่ามัว

8 ความรู้ - แฟลช และเทคนิคการถ่ายภาพด้วยแสงแฟลช
การถ่ายภาพด้วยแสงสะท้อนจากแฟลช (Bounce Flash) ด้วยการปล่อยแสงแฟลชให้ตกกระทบกับวัตถุ แล้วจึงสะท้อนกลับมาที่ตัวแบบ อาจใช้ร่มสะท้อนแสง ฝาผนัง หรือเพดานเตี้ยๆ

9 ความรู้ - ช่องว่างกับมุมกล้อง
ตัวอย่าง การเว้นช่องว่างเพื่อให้เกิดความรู้สึกเคลื่อนไหวไปข้างหน้า

10 ความรู้ - มุมกล้องกับช่องว่าง
มุมกล้อง การถ่ายภาพในมุมที่ต่างกัน มีผลต่อความคิดความรู้สึก แบ่งมุมกล้องได้เป็น 3 ระดับ ภาพระดับสายตา ภาพที่ได้จะให้ความรู้สึกเป็นปรกติธรรมดา ภาพตัวอย่าง การถ่ายภาพในมุมมองปรกติ

11 ความรู้ - มุมกล้องกับช่องว่าง
มุมกล้อง การถ่ายภาพในมุมที่ต่างกัน มีผลต่อความคิดความรู้สึก แบ่งมุมกล้องได้เป็น 3 ระดับ ภาพมุมต่ำ ภาพที่ได้จะให้ความรู้สึกถึงความสูงใหญ่ ยิ่งใหญ่กว่าความเป็นจริง แสดงถึงความสง่า ภาพตัวอย่าง การถ่ายภาพในมุมต่ำ

12 ความรู้ - มุมกล้องกับช่องว่าง
มุมกล้อง การถ่ายภาพในมุมที่ต่างกัน มีผลต่อความคิดความรู้สึก แบ่งมุมกล้องได้เป็น 3 ระดับ ภาพมุมสูง ภาพที่ได้จะให้ความรู้สึกถึงความเล็กความต้อยต่ำ ไม่มีความสำคัญ ภาพตัวอย่าง การถ่ายภาพในมุมสูง

13 ความรู้ – กฎสามส่วน (Rule of Third)
กฎสามส่วนกล่าวไว้ว่า ไม่ว่าภาพจะอยู่แนวตั้งหรือแนวนอนก็ตาม หากเราแบ่งภาพนั้นออกเป็นสามส่วน ทั้งตามแนวตั้งและแนวนอน แล้วลากเส้นแบ่งภาพทั้งสามเส้น จะเกิดจุดตัดกันทั้งหมด 4 จุด ซึ่งจุดตัดของเส้นทั้งสี่นี้ เป็นตำแหน่งที่เหมาะสมสำหรับการจัดวางวัตถุที่ต้องการเน้นให้เป็นจุดเด่นหลัก ส่วนรายละเอียดอื่นๆนั้น เป็นส่วนสำคัญที่รองลงมา

14 ความรู้ – กฎสามส่วน (Rule of Third)

15 ความรู้ – กฎสามส่วน (Rule of Third)

16 ความรู้ – กฎสามส่วน (Rule of Third)
นอกจากนี้ยังสามารถใช้แนวเส้นแบ่ง 3 เส้นนี้ เป็นแนวในการจัดสัดส่วนของภาพได้ อย่างเช่นการจัดวางเส้นขอบฟ้าให้อยู่ในแนวเส้นแบ่ง โดยให้ส่วนพื้นดินและท้องฟ้าอยู่ในอัตราส่วน 3:1 หรือ 1:3 แต่ไม่ควรแบ่ง 1:1

17 ความรู้ – ขนาดของหน่วยความจำและขนาดของภาพเมื่อนำไปอัด

18 ตัวอย่างการถ่ายภาพ Portrait/People

19 ตัวอย่างการถ่ายภาพ Portrait/People

20 ตัวอย่างการถ่ายภาพ Landscape/Cityscape

21 ตัวอย่างการถ่ายภาพ Landscape/Cityscape

22 ตัวอย่างการถ่ายภาพ Macro/Closeup

23 ตัวอย่างการถ่ายภาพ Animal

24 ตัวอย่างการถ่ายภาพ Food

25 ตัวอย่างการถ่ายภาพ Food

26 ตัวอย่างการถ่ายภาพ Food

27 ตัวอย่างการถ่ายภาพ Food

28 หนังสืออ่านเพิ่มเติม
หนังสือ เทคนิคการถ่ายภาพฉบับสมบูรณ์ Creative Photography

29 หนังสืออ่านเพิ่มเติม
หนังสือชุด เทคนิคการถ่ายภาพฉบับสมบูรณ์ ผลงานคุณภาพจาก ทีมงาน นิตยสาร SHUTTER PHOTOGRAPHY

30 อ่านใจ...จากการถ่ายภาพ เอามือกอดอก นั่งไขว่ห้าง
ชอบทำหน้าตาทะเล้น เด๋อด๋า วางมือไว้หลังศีรษะ ชอบหันใบหน้าด้านข้างเข้าหากล้อง ยิ้มเห็นฟันนิดหน่อย ถ่ายรูปทีไร ยิ้มกว้างทุกที เอามือจับที่คาง

31 แหล่งที่มาของข้อมูล :

32 แหล่งที่มาของข้อมูล :

33 แหล่งที่มาของข้อมูล :

34 Thank You Presented by Nitima


ดาวน์โหลด ppt ประวัติการถ่ายภาพ(1) วิชาการถ่ายภาพ ได้มีการพัฒนาต่อเนื่องกันมาหลายร้อยปีตามลำดับ ก่อนจะมีกล้องถ่ายภาพ จนในศตวรรษที่ 19 มนุษย์ก็ประสบความสำเร็จในการคิดค้นกระบวนการสร้างภาพ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google