ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยNirawit Ponhpaiboon ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
Overview - Wikipedia Wikipedia คืออะไร? การใช้งาน Wikipedia
2
Wikipedia คืออะไร? Wikipedia คือ สารานุกรมเสรีออนไลน์ ซึ่งเป็นที่ให้ทุกๆ คนสามารถเข้าไปใช้แสวงหาความรู้, ให้ความรู้ และ แก้ไขความรู้ ให้กับผู้อื่นได้
3
ข้อดี-ข้อเสีย ของ Wikipedia
เนื้อหาเปิดเสรีให้สามารถนำไปใช้ได้ เปิดเสรีที่ให้ทุกคนเขียน แก้ไขข้อมูล โดยทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน เผยแพร่สืบต่อกันได้อย่างเสรี นโยบายมุมมองที่เป็นกลางจากทุกฝ่ายที่เขียนในสารานุกรม ข้อเสีย การนำไปใช้อ้างอิงในเอกสารทางวิชาการยังเป็นข้อถกเถียงกันอยู่-วิกิพีเดียมีความถูกต้องมากน้อยแค่ไหน ไม่สามารถป้องกันผู้ประสงค์ร้ายเข้าไปทำลายข้อมูลหรือสิ่งดีๆ ลิขสิทธิ์และการอนุญาตให้ใช้เนื้อหาแบบเสรีในวิกิพีเดีย ลิขสิทธิ์เสรี (copyleft – สามารถสำเนา, แก้ไขดัดแปลง, กระจายต่อได้) ข้อความ ภาพและเนื้อหาประเภทอื่นๆ ส่วนใหญ่ทั้งหมดในวิกิพีเดีย จะอยู่ภายใต้ลิขสิทธิ์GNU Free Documentation License หรือ GFDL หรือ GNU FDL (การอนุญาตให้ใช้เนื้อหาแบบเสรี) หัวข้อที่เป็นที่สนใจย่อมได้รับการตรวจสอบมากกว่าหัวข้อที่ไม่มีคนรู้จัก ไม่มีระบบตรวจสอบความถูกต้อง
4
ใครควรใช้ Wikipedia • ครู อาจารย์ ที่ทำงานด้านวิจัยต่างๆ • ศูนย์วิจัยต่างๆ • ผู้ที่ต้องการทำระบบสารานุกรมในหน่วยงาน เพื่อรวมข้อมูลต่างๆ ทำให้ ง่ายในการตรวจสืบค้น • ผู้ที่ต้องการทำคู่มือการใช้งานโปรแกรม • ผู้สนใจอยากศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยี Wikipedia
5
การใช้งาน Wikipedia • การสร้างบัญชีผู้ใช้
ศึกษา หาความรู้ในบทความเรื่องต่าง ๆ การสร้างบทความใหม่ การแก้ไขบทความ อื่น ๆ การโหวตบทความคัดสรร การตรวจสอบ และเพิ่มคุณภาพของเนื้อหา
6
การสร้างบัญชีผู้ใช้ใหม่ (การใช้งาน)
1 2 3 ข้อดีของการสร้างบัญชีผู้ใช้ ได้รับ “หน้าผู้ใช้” ของตนเอง สามารถใส่ Profile ของตนเองได้ ได้รับ “หน้าพูดคุยส่วนตัว” เพื่อใช้สำหรับติดต่อกับชาววิกิพีเดียคนอื่น จะได้รับความเชื่อถือมากว่าไม่มีบัญชี ผู้อื่นจะสามารถทราบ และจำชื่อของคุณในการแก้ไข หรือสร้างบทความได้ มีสิทธิได้รับการเสนอชื่อเป็น “ผู้ดูแลระบบ” ฯลฯ
7
การศึกษา หาความรู้ในบทความเรื่องต่าง ๆ (การใช้งาน)
ศึกษาบทความจากหมวดหมู่ต่าง ๆ ที่วิกิพีเดียได้จัดเตรียมไว้แล้ว บทความคัดสรรเดือนนี้ เรื่องจากข่าว วันนี้ในอดีต รู้ไหมว่า… สารานุกรม ศึกษาจากเมนู เช่น เหตุการณ์ปัจจุบัน ปรับปรุงล่าสุด สุ่มบทความ หน้าพิเศษ บทความทั้งหมด
8
การสร้างบทความใหม่ (การใช้งาน)
สร้างต่อจากบทความเดิม เลือกคลิกคำศัพท์สีแดงภายในบทความเดิม … หมายถึงเรื่องที่ยังไม่มีผู้เขียนบทความที่เกี่ยวข้อง วิกิพีเดียจะเปิดหน้า “แก้ไข” ให้สร้างบทความที่เกี่ยวข้องได้ทันที 1 2
9
การสร้างบทความใหม่ (ต่อ) (การใช้งาน)
พิมพ์ชื่อที่ต้องการ หลังจากชื่อเว็บใน ช่อง URL ด้านบน และเลือก edit/แก้ไข เพื่อเขียนบทความนั้น 1 2
10
การสร้างบทความใหม่ (ต่อ) (การใช้งาน)
สร้างบทความใหม่จากกรอบคำสั่งในหน้าเว็บไซต์ Wikipedia 2 1 พิมพ์หัวข้อของบทความที่ต้องการสร้าง … จากนั้นคลิกที่ปุ่ม “สร้างบทความ” …จะปรากฎหน้า “แก้ไข” สำหรับสร้างบทความหากยังไม่มีหัวข้อนั้นมาก่อน
11
การแก้ไขบทความ (การใช้งาน)
วิธีแก้ไขบทความ 1 คลิกปุ่ม “แก้ไข” ในบทความที่ต้องการแก้ไข 2 พื้นที่สำหรับแก้ไขบทความ
12
การแก้ไขบทความ (ต่อ) (การใช้งาน)
วิธีแก้ไขขั้นพื้นฐาน, การใช้สัญลักษณ์สำหรับการแก้ไข
13
การแก้ไขบทความ (ต่อ) (การใช้งาน)
กระบะทราย - พื้นที่ทดลองแก้ไข หากยังไม่มั่นใจสามารถทดลองแก้ไขได้ที่หน้า “กระบะทราย” … การแก้ไขที่หน้ากระบะทรายจะไม่คงอยู่ตลอดไป
14
อื่น ๆ (การใช้งาน) นอกจากนี้ยังมีงานอีกมากมายในวิกิพีเดียที่รอให้ทุกคนเข้ามาช่วยกันทำให้บทความมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น การโหวตบทความคัดสรร : จะมีการช่วยกันเลือกบทความคัดสรรเดือนละ 1 บทความ การตรวจสอบ และเพิ่มคุณภาพของเนื้อหา เช่น - การเชื่อมโยงบทความ - การจัดหมวดหมู่ - การตรวจสอบภาษา - การตรวจสอบความถูกต้อง - การช่วยแจ้งลบสื่อที่ไม่ได้ใช้ในวิกิพีเดีย - การช่วยโฆษณา และประชาสัมพันธ์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.