ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSaowatharn Chaisurivirat ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
โครงการ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้ชุดกระเป๋าปฐมพยาบาลสำหรับนิสิตที่ทำกิจกรรมนอกสถานที่
กลุ่ม Firstaid
2
ประเภทโครงการ โครงการใหม่ที่พัฒนาหน่วยงาน
3
สมาชิกกลุ่ม นางศรีนวล รัตนวรรณนุกูล ที่ปรึกษากลุ่ม
นางศรีนวล รัตนวรรณนุกูล ที่ปรึกษากลุ่ม นางศุภกัญญา บินทปัญญา ที่ปรึกษากลุ่ม นางปาณิสรา ราชพิบูลย์ ประธาน นางสาวภคมน เครือผือ เลขานุการ นางสาวประภาพร สิทธิอมร สมาชิก นายวิริยะ คงสมบูรณ์ สมาชิก นางอัญญวัณย์ เพ็งเอมออม สมาชิก นางเสาวนีย์ มั่นสุข สมาชิก
4
หัวข้อปัญหา รายละเอียดและข้อมูลของการใช้กระเป๋าปฐมพยาบาลไม่ครบถ้วนสมบูรณ์
5
หลักการและเหตุผล เพื่อให้นิสิตที่ใช้ชุดกระเป๋าปฐมพยาบาล มีความปลอดภัย ในด้านสุขภาพและอนามัยในการประกอบกิจกรรมดังกล่าว จึงมีความจำเป็นที่นิสิตต้องมีความรู้ในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น กรณีเกิดเหตุการณ์ด้านสุขภาพและเหตุการณ์ที่ไม่คาดฝัน อาการบาดเจ็บด้านร่างกาย เป็นอุบัติการณ์หนึ่งที่พบได้บ่อย ทางกลุ่มจึงเห็นสมควรให้มีการปรับเปลี่ยนชุดกระเป๋าปฐมพยาบาลให้เกิดความสะดวก ง่ายต่อการหยิบใช้ โดยจัดทำคู่มือการใช้เวชภัณฑ์และการปฐมพยาบาลเบื้องต้นพร้อมทั้งมีการจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับวิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ชุดกระเป๋าปฐมพยาบาล รวมทั้งให้นิสิตสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อตนเอง ครอบครัว และสังคมต่อไป ตามยุทธศาสตร์เกื้อกูลและเป็นสุขของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
6
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ใช้กระเป๋าปฐมพยาบาล สามารถใช้เวชภัณฑ์แต่ละชนิดในกระเป๋ายาได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย เพื่อให้ผู้ใช้กระเป๋าปฐมพยาบาลสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง
7
ตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงงาน
อัตราการรับรู้และเข้าใจในการใช้กระเป๋าปฐมพยาบาล > 80% อัตราความพึงพอใจของผู้ใช้กระเป๋าปฐมพยาบาล > 80%
8
ขอบเขตของโครงการ นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
9
ระยะเวลาการดำเนินการ
ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม 2554 ถึง วันที่ 31 กรกฎาคม 2554
10
ปัญหาชุดกระเป๋าปฐม พยาบาลขาดความพร้อมใช้
แผนภูมิก้างปลา ผู้ใช้กระเป๋าปฐมพยาบาลขาดความรู้ในการใช้ ยังไม่มีคู่มือการใช้กระเป๋าปฐมพยาบาล อย่างถูกต้องและครบถ้วน ไม่มีการให้คำแนะนำการใช้กระเป๋าปฐมพยาบาลก่อนจำหน่าย ปัญหาชุดกระเป๋าปฐม พยาบาลขาดความพร้อมใช้ ไม่มีการจัดอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและ การใช้ยาอย่างถูกต้องในแต่ละประเภท ไม่มีช่องทางให้กรอกหรือแจ้งข้อมูล นิสิตไม่ได้แจ้งข้อมูลของกิจกรรม แบบฟอร์มการแจ้งไม่ครบถ้วน ไม่รู้ข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมของนิสิต เวชภัณฑ์ยาไม่เหมาะกับกิจกรรมของนิสิต
11
วิเคราะห์แนวทางแก้ไขปัญหา
สาเหตุ วิธีการแก้ไข (กิจกรรม/กระบวนการแก้ไข) ผู้รับผิดชอบ ระยะเวลาดำเนินการ 1.เวชภัณฑ์และยาไม่เหมาะกับกิจกรรมของนิสิต 1. จัดทำแบบฟอร์มให้ครบถ้วนโดยเพิ่มช่องทางในการกรอกหรือแจ้งข้อมูลในการจัดกิจกรรมของนิสิตให้มีความชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น สมาชิกกลุ่ม Firstaid มี.ค.-ก.ค. 2554 กิจกรรมชายทะเล กิจกรรมเดินป่า กิจกรรมรับน้อง เพื่อจัดเวชภัณฑ์และยาให้เหมาะสมกับกิจกรรม 2. เพื่อประชาสัมพันธ์ทางเว็บไซต์ - เกี่ยวกับขั้นตอนการขอความอนุเคราะห์กระเป๋าปฐมพยาบาล - การกรอกแบบฟอร์มผ่านทางเว็บไซต์ก่อนส่งฉบับจริง 2. ผู้ใช้กระเป๋าปฐมพยาบาลขาดความรู้ในการใช้ 1. จัดทำคู่มือการใช้ยาและเวชภัณฑ์ในกระเป๋าปฐมพยาบาลอย่างถูกต้องและครบถ้วน 2. ให้คำแนะนำการใช้กระเป๋าปฐมพยาบาลก่อนจำหน่ายกระเป๋า 3. จัดอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการใช้ยาอย่างถูกต้อง
12
แบบฟอร์มขอกระเป๋าปฐมพยาบาลแบบใหม่
13
การอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
20
รูปกระเป๋ายา เก่า/ใหม่
กระเป๋ายาแบบเก่า กระเป๋ายาแบบใหม่
21
แบบสอบถาม เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและวิธีการใช้ยา
22
แบบสอบถาม วิธีการใช้กระเป๋ายาและการปฐมพยาบาล
23
แบบประเมิน
24
แบบประเมินความคิดเห็น
25
สรุปผลการดำเนินงาน เก็บข้อมูลการใช้กระเป๋าปฐมพยาบาล ตั้งแต่วันที่ 1 มีนาคม – 31 กรกฎาคม 54 ในการขออนุเคราะห์กระเป๋าปฐมพยาบาล จำนวนทั้งหมด 105 ใบ และนิสิตเข้าร่วมฝึกอบรมการปฐมพยาบาลเบื้องต้นจำนวน 76 คน - อัตราการรับรู้และเข้าใจในการใช้ชุดกระเป๋าปฐมพยาบาล 96% อัตราความพึงพอใจในการใช้ชุดกระเป๋าปฐมพยาบาล 94%
26
บอร์ดนำเสนอ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.