งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม
Knowledge to All   

2 สรุปผลงาน โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ.ศ. 2554 กลุ่ม 1
สรุปผลงาน โครงการพัฒนาคุณภาพงาน ประจำปี พ.ศ กลุ่ม 1 2

3 ชื่อหน่วยงาน สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชื่อหน่วยงาน สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หน้าที่หลักของหน่วยงาน ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิตหนังสือ/ตำราที่มีคุณภาพ และสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้หนังสือทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ ชื่อโครงการพัฒนา การควบคุมระยะเวลาการรับพิจารณาจัดพิมพ์หนังสือ 3

4 4.1 จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เขียนต่อบริการ ของสำนักพิมพ์
4. ที่มาของโครงการ 4.1 จากแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้เขียนต่อบริการ ของสำนักพิมพ์ 4.2 ข้อมูลจากผู้เขียนโดยตรง 4

5 5. เครื่องชี้วัดและเป้าหมายของโครงการ
5.1 จำนวนต้นฉบับที่เสนอเพื่อพิจารณาจัดพิมพ์ และส่งตรวจคุณภาพเนื้อหาตรงตามกำหนดเพิ่มขึ้นจาก 50% เป็น 60% (นับเฉพาะหนังสือที่อยู่ในขอบเขตของโครงการ) 5.2 ค่าเฉลี่ยของแบบประเมินในหัวข้อความเหมาะสมของ ระยะเวลาในการตรวจคุณภาพ อยู่ในระดับสูงกว่า 4.32 ความพึงพอใจของผู้เขียนสูงขึ้น 5

6 6. สรุปผลการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (ก้างปลา) 6.1 ผู้ตรวจคุณภาพเนื้อหา
6.1 ผู้ตรวจคุณภาพเนื้อหา 6.1.1 ความหนา หน้า มากกว่า 1.5 เดือน 6.1.2 ความหนา 300 หน้าขึ้นไป มากกว่า 2.5 เดือน 6.1.3 ความยากง่ายของเนื้อหา 6.1.4 ผู้ตรวจคุณภาพเนื้อหาตามสาขามีน้อย 6.1.5 หนังสือบางเล่มจะต้องตรวจคุณภาพ 2 ครั้ง เพื่อความถูกต้องทางวิชาการ 6.2 กระบวนการ/วิธีการ ระยะเวลาการส่งต้นฉบับทาง ไปรษณีย์มหาวิทยาลัยให้ผู้ตรวจคุณภาพใช้เวลานาน 6

7 6. สรุปผลการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา (ก้างปลา) (ต่อ)
6.3 ผู้เขียนส่งต้นฉบับไม่สมบูรณ์ 6.4 บุคลากร อัตราบุคลากรงานธุรการมีน้อยกว่าปริมาณงาน เจ้าหน้าที่มีภาระงานมาก (185 เล่ม/คน)

8 7. สรุปการแก้ไขปรับปรุงที่ได้ดำเนินการ
7.1 ติดตามผลตรวจคุณภาพจากผู้ตรวจคุณภาพเนื้อหา โทรสอบถาม/อีเมล ภายในสัปดาห์ที่ 3 ขอรายชื่อผู้ตรวจคุณภาพจากผู้เขียน/ผู้ตรวจคุณภาพ จำนวน 3 ท่าน ระบุระยะเวลาการตรวจตามความหนาใน บันทึกข้อความแจ้งผู้เขียน จัดทำทะเบียนรายชื่อผู้ตรวจคุณภาพอย่างเป็นระบบ

9 7. สรุปการแก้ไขปรับปรุงที่ได้ดำเนินการ (ต่อ)
7.2 กระบวนการ เปิดรับผู้รับจ้าง-ส่งเอกสารอิสระโดยหน่วยงาน สนับสนุนค่าใช้จ่าย 7.3 แจ้งผู้เขียน 7.3.1 ย้ำให้กรอกข้อมูลให้ครบถ้วน จัดทำคู่มือการเสนอต้นฉบับและประกาศไว้ในเว็บไซต์ 7.4 บุคลากร เปิดรับสมัครบุคลากรเพิ่ม วางแผนการทำงาน จัดลำดับ ความสำคัญของการทำงาน ติดตามงาน อย่างต่อเนื่อง

10 แบบ FM-AD-01 (แบบเสนอหนังสือเพื่อขอให้พิจารณาจัดพิมพ์) ล่าสุด
เพิ่มเติมหัวข้อ 1 เพิ่มเติมข้อมูล 10

11 แบบ FM-AD-01 (แบบเสนอหนังสือเพื่อขอพิจารณาให้จัดพิมพ์) ล่าสุด
ข้อ 6 เพิ่มเติมเบอร์มือถือ

12 แบบ FM-AD-01 (แบบเสนอหนังสือเพื่อขอพิจารณาให้จัดพิมพ์) ล่าสุด
เพิ่มข้อที่ 11 เพิ่มเติมหมายเหตุ ข้อ 3. คำว่าเท่านั้น และเพิ่ม ข้อ 5. 12

13 8. ผลลัพธ์การดำเนินการ (ข้อมูลตัวชี้วัดเปรียบเทียบก่อนและหลังการปรับปรุง)
หนังสือที่ผ่านเกณฑ์ตรวจคุณภาพ ปีงบประมาณ 2553 (1 ต.ค ก.ย. 53 = 12 เดือน) หน้า (เดือน) จำนวน (เล่ม) ตรงกำหนด ไม่ตรงกำหนด (1.5 ) 53 25 (47%) 28 (53%) 300 ≥ 400(2.5 ) 26 14 (54%) 12 (46%) หนังสือที่ผ่านเกณฑ์ตรวจคุณภาพ ปีงบประมาณ 2554 (1 ต.ค. 53 – 30 ก.ย. 54 = 12 เดือน) หน้า (เดือน) จำนวน (เล่ม) ตรงกำหนด ไม่ตรงกำหนด (1.5 ) 78 53 (68%) 25 (32%) 300 ≥ 400(2.5 ) 28 19 (68%) 9 (32%) 13

14 สรุปผลการดำเนินการปีงบประมาณ 2554 เปรียบเทียบปีงบประมาณ 2553
มีหนังสือที่ผ่านการตรวจคุณภาพตรงกำหนดมากขึ้นจากร้อยละ 47 เป็น ร้อยละ 68*, จากร้อยละ 54 เป็น ร้อยละ 68* สรุปผลความพึงพอใจของผู้เขียน ในส่วนของความเหมาะสม ของระยะเวลาในการตรวจคุณภาพ อยู่ในระดับ คิดเป็น ร้อยละ ซึ่งพบว่ายังต่ำกว่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ ซึ่งตั้งข้อสังเกตว่าโครงการดังกล่าวอยู่ในช่วงเริ่มปฏิบัติงาน และน่าจะมีสถิติดีขึ้นในปีถัดไป

15 ในปีงบประมาณ 2554 มีการปรับปรุงงานเพื่อพัฒนางานดังนี้
ในปีงบประมาณ มีการปรับปรุงงานเพื่อพัฒนางานดังนี้ มีคู่มือการรับพิจารณาต้นฉบับหนังสือเป็นข้อมูลให้ผู้เขียน มีโครงการจ้างผู้รับจ้างอิสระ ส่งเอกสารในรูปแบบบริษัทหรือสัญญา ปรับปรุงรายละเอียดในแบบเสนอหนังสือฯ หน้า 1 หน้า 4 และหน้า 5 เพื่อนำขึ้นเว็บไซต์ มีโครงการจัดทำฐานข้อมูลแยกตามสาขา รายชื่อผู้ตรวจคุณภาพ

16 ในปีงบประมาณ 2554 มีการปรับปรุงงานเพื่อพัฒนางานดังนี้ (ต่อ)
นำกำหนดการติดตามงานจากสมุดบันทึกไปลงใน G-Calendar มีการประชุมทบทวนงานทุกวันพุธ ได้เปิดรับบุคลากร และมีการกำหนดภาระงาน มีส่วนช่วยติดตามกำหนดการในการตรวจคุณภาพดีขึ้น

17 ขอขอบคุณ 17


ดาวน์โหลด ppt สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สรรคุณค่าวิชาการ สู่สังคม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google