ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
รายงาน ผลการประเมินคุณภาพ ประจำปี 2553
2
ตารางสรุปผลการประเมินรายองค์ประกอบ
ปี2551 ปี2552 ปี2553 1) ปรัชญา ปณิธาน 4.33 4.00 2) การเรียนการสอนฯ 3.53 3.54 4.38 3) กิจกรรมนักศึกษาฯ 4.67 3.75 4) วิจัย 3.22 3.14 5) บริการวิชาการ 5.00 6) ศิลปวัฒนธรรม 7) การบริหาร 3.71 3.56 4.50 8) การเงิน 9) ประกันคุณภาพ ค่าน้ำหนัก 9 องค์ประกอบ 4.09 3.91 4.39
3
องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน
องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน จุดเด่น – อาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาเอก (88.24%) - อาจารย์ประจำที่มีตำแหน่งวิชาการ (58.82%) - ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน - ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตาม คุณลักษณะของบัณฑิต ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อม การเรียนรู้
4
องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา
จุดเด่น ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา ระบบและกลไกการให้คำปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร
5
องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย
องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย จุดเด่น - เงินสนับสนุนต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัย (ประมาณ 160,000 ประมาณ 173,600) ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัย ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากการวิจัย
6
องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม
องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม จุดเด่น - กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม
7
องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม จุดเด่น – ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
8
องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ
องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ จุดเด่น – ภาวะผู้นำของสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของหน่วยงาน การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันการเรียนรู้ ระบบบริหารความเสี่ยง ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ
9
ตัวบ่งชี้ สมศ.ปีการศึกษา2553
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน ผลการดำเนินงาน คะแนน คุณภาพบัณฑิต บัณฑิต ป.ตรีที่มีงานทำภายใน 1 ปี 64.29 3.21 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานฯ 3.91 ผลงานมหาบัณฑิตที่ตีพิมพ์ 25.00 5.00 งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ งานวิจัยทีได้รับการตีพิมพ์ 33.82 งานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ 35.29 ผลงานวิชาการที่ได้รับรองคุณภาพ 17.65 การบริการวิชาการ นำมาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอน 28.57 4.76 การบริหารและพัฒนาสถาบัน การพัฒนาคณาจารย์ 6.53
10
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน คุณภาพบัณฑิต
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน คุณภาพบัณฑิต - บัณฑิตที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี (64.29%) ใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมา - ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับ ป.โท ที่มีการตีพิมพ์ (25.00%) เท่ากับเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด มีการตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติและระดับชาติใกล้เคียงกัน
11
ด้านสังคมศาสตร์ ตัวบ่งชี้พื้นฐาน งานวิจัยและงานสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ด้านสังคมศาสตร์ - งานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ (33.82%) มากกว่าเกณฑ์กำหนดไว้ (10.00 %) ส่วนใหญ่ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ - งานวิจัยที่นำไปใช้ประโยชน์ (35.29%) มากกว่าเกณฑ์กำหนดไว้ (20.00 %) - ผลงานทางวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ (17.65 %) มากกว่าเกณฑ์กำหนดไว้ (10.00 %) ส่วนใหญ่ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ
12
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน การบริการวิชาการแก่สังคม
ผลการนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการ มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนหรือการวิจัย (28.57%) น้อยกว่าเกณฑ์กำหนดไว้ (30.00 %) มีเพียง 2 โครงการ จากทั้งหมด 7 โครงการ ที่นำมาใช้ในการพัฒนาเฉพาะในด้านการเรียนการสอนเท่านั้น
13
มากกว่าเกณฑ์กำหนดไว้ (6.00)
ตัวบ่งชี้พื้นฐาน การบริหารและพัฒนาสถาบัน การพัฒนาคณาจารย์ (6.53) มากกว่าเกณฑ์กำหนดไว้ (6.00) คณาจารย์บางส่วน ประมาณ 1 ใน 3 (อาจารย์ใหม่) ยังไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ
14
ภาพรวมของการประเมินภาควิชา ปี 2553
ผลกระทบจากการเกษียณอายุของอาจารย์ ในภาคอย่างต่อเนื่องและการรับอาจารย์ใหม่ ที่ไม่สอดคล้องในด้านเวลา อาจารย์ของภาคฯ ส่วนหนึ่งอยู่ระหว่างการพัฒนาคุณวุฒิเพื่อขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ แต่เนื่องจากต้องรับภาระงานหลายด้าน ทำให้ยังไม่สามารถเสนอขอตำแหน่งเพื่อทดแทนกับคณาจารย์ที่เกษียณอายุได้ทัน
15
ภาพรวมของการประเมินภาควิชา ปี 2553
3. จำนวนนักศึกษาที่เพิ่มขึ้นในแต่ละปี ประกอบกับคุณภาพของนักศึกษาในด้านวิชาการที่อ่อนลง ทำให้ต้องเผชิญกับปัญหาทางการเรียนการสอนมากขึ้น 4. ต้องใช้ความพยายามในการพัฒนาการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิภาพมากขึ้น (ผู้เรียนพอใจ ผลการสำเร็จการศึกษาเป็นไปตามเป้าหมาย)
16
ภาพรวมของการประเมินภาควิชา ปี 2553
5. จำนวนบุคลากรของภาคฯ มีน้อย และเป็นบุคลากรใหม่ ต้องการเวลาในการสะสมประสบการณ์ (ทั้งสายวิชาการและสายสนับสนุน) ทำให้ต้อง ใช้เวลาในการจัดการมากขึ้น 6. ภาระงานในบางด้านมากขึ้น ทำให้มีโอกาสพัฒนางานด้านอื่นน้อยลง
17
ภาพรวมของการประเมินภาควิชา ปี 2553
7. คณาจารย์ในภาควิชาฯ มีความต้องการในการทำวิจัยมากขึ้น ทั้งนี้เพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาหน่วยงานและบุคลากร 8. มีการส่งเสริมให้นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาตีพิมพ์เผยแพร่งานวิจัยที่ได้มาตรฐานมากขึ้น ทั้งในแผน ก และแผน ข
18
ขอขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.