ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Packet Tracer Computer network
2
Packet tracer คืออะไร โปรแกรม Packet Tracer เป็นโปรแกรมจำลองเครือข่ายที่ผู้ใช้สามารถสร้าง เครือข่ายขึ้นเองได้นั่นคือ สามารถกำหนดได้ว่าเครือข่ายจะมีอุปกรณ์ใดบ้าง เช่น router, Switch, PC, hub เป็นต้น ซึ่งโปรแกรม Packet Tracer สามารถจำลองการทำงานของเราเตอร์และสวิทช์ได้
3
หน้าตาของโปรแกรม packet tracer
4
ส่วนประกอบของ packet tracer
5
ส่วนที่ 1 menu bar Menu Bar จะอยู่ด้านบนสุดซ้ายมือ ซึ่งจะรวบรวมการตั้งค่า การปรับแต่ง การดู ข้อมูลต่างๆ และจะมีคําสั่งพื้นฐานที่สําคัญ เช่น Open, Save, Save as Pkz, Print, and Preferences ทั้งหมดไว้ที่นี่
6
ส่วนที่ 2 main tool bar Main Tool Bar จะแสดงคําสั่งที่มักจะถูกใช้งานบ่อยๆ เช่น เปิด-ปิด-บันทึก เป็นต้น ซึ่งมีไว้เพื่ออํานวยความสะดวกรวดเร็วในการใช้งานกว่าการเข้าถึงจาก Menu Bar
7
ส่วนที่ 3 Logical / Physical Workspace and Navigation Bar
Logical / Physical Workspace and Navigation Bar เป็นโหมดที่ ให้เราเลือกได้ระหว่าง Logical (จะเห็นเป็นไอคอนและสัญลักษณ์อุปกรณ์ Cisco ที่คุ้นตา) และโหมด Physical (จะเห็นเป็นลักษณะหน้าตาอุปกรณ์เหมือน จริง วางอยู่ในตู้ Rack)
8
ส่วนที่ 4 work space Workspace เป็นพื้นที่ว่างที่อยู่ตรงกลางของโปรแกรม ซึ่งจะเป็นพื้นที่ในการ สร้าง Topology ตามที่ต้องการ ซึ่งส่วนนี้จะเป็นจุดที่ทํางานหลักของโปรแกรม
9
ส่วนที่ 5 common tool bar
Common Tool Bar เป็นส่วน ของเครื่องมือสำคัญที่ใช้งานบน Workspace ประกอบด้วย Select Tool ใช้สําหรับเลือก Object Move Layout ใช้สําหรับเคลื่อนย้าย Place Note ใช้สําหรับใส่ข้อความอธิบาย Delete ใช้สําหรับลบ Object Inspect ใช้ในการตรวจความถูกต้อง Resize Shape ใช้สําหรับการย่อขยาย Object Add Sample PDU ใช้สําหรับการจําลองการส่งข้อมูล
10
ส่วนที่ 6 network component box
Network Component Box เป็นส่วนที่ให้เลือกอุปกรณ์เครือข่าย และการ เชื่อมต่อต่างๆ ที่ นําไปวางในพื้นที่ Workspace จะประกอบด้วย Device-Type Selection Box และ the Device-Specific Selection Box
11
ส่วนที่ 7 Device-Type Selection box
Device-Type Selection Box จะเป็นประเภทของอุปกรณ์เครือข่าย เช่น Routers, Switchs, Hubs, End devices, WAN Emulation เป็นต้น
12
ส่วนที่ 8 Device-Specific Selection Box
Device-Specific Selection Box จะเป็นอุปกรณ์เครือข่าย โมเดลต่างๆ หรืออุปกรณ์ที่อยู่ในแต่ละประเภทของ Device-Type Selection Boxที่เราเลือกนั่นเอง
13
ส่วนที่ 9 User Created Packet Window
User Created Packet Window เป็นหน้าต่างที่ใช้จัดการรายละเอียดของ เหตุการณ์ที่จําลองขึ้น ซึ่งจะแสดงให้เห็นว่า Packet ที่วิ่งบนเครือข่ายว่าถูกต้อง หรือไม่ และสามารถเพิ่มหรือลบเหตุการณ์จําลองที่เกิดขึ้นได้จากส่วนนี้
14
ส่วนที่ 10 เป็นส่วนที่ใช้สลับการทำงานบน workspace
เป็นส่วนที่ใช้ในการสลับการทํางานบน Workspace ไปมา ระหว่าง Real- time Mode และ Simulation Mode
15
Real time โหมด Real-time เป็น โหมดที่ใช้งานบ่อยที่สุด เมื่อลากไอคอนและอุปกรณ์ ต่างๆมาวางไว้ที่นี่ ก็ สามารถจำลองการทำงาน ของระบบเครือข่ายได้
16
simulation โหมด Simulation เป็นโหมดที่โปรแกรมจะสร้าง ภาพจำลองการทำงานของ Packet ข้อมูล ซึ่งช่วย ให้เรามองเห็นภาพการ ทำงานของอุปกรณ์ต่างๆได้ อย่างชัดเจ
17
ข้อดีของ packet tracer
การจำลองการทำงานต่างๆของอุปกรณ์สมบูรณ์ ใช้ทรัพยากรบนเครื่องคอมพิวเตอร์น้อย ทำให้สามารถใช้งานบนเครื่อง คอมพิวเตอร์ทั่วไปได้ สามารถใช้โหมด simulation เพื่อให้เห็นการทำงานต่างๆของโปโตคอลได้
18
ข้อเสียของ packet tracer
บางครั้งไม่สามารถ config ได้เหมือนอุปกรณ์จริง การใช้งานถูกจำกัดเท่าที่ผู้ออกแบบโปรแกรมได้กำหนดไว้ เนื่องจากโปรแกรมนี้เป็นโปรแกรมที่ใช้จำลองเหตุการณ์ จึงไม่สามารถจําลอง เหตุการณ์จริงได้ทุกรูปแบบ และไม่สามารถนําไปออกแบบระบบ Network ที่ มีขนาดใหญ่ได้
19
จำลองการทำงานของ hubs
20
จำลองการทำงานของ hubs
21
จำลองการทำงานของ hubs
22
จำลองการทำงานของ hubs
23
จำลองการทำงานของ hubs
24
จำลองการทำงานของ hubs
25
จำลองการทำงานของ hubs
26
จำลองการทำงานของ hubs
27
จำลองการทำงานของ hubs
28
จำลองการทำงานของ hubs
29
จำลองการทำงานของ hubs
30
จำลองการทำงานของ switch
31
จำลองการทำงานของ switch
32
จำลองการทำงานของ switch
33
สาธิตการใช้งาน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.