งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาพรวมสถานการณ์พลังงานปี 2548

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาพรวมสถานการณ์พลังงานปี 2548"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาพรวมสถานการณ์พลังงานปี 2548
โลหะมูลฐาน 4.6% ผลิตภัณฑ์โลหะ 6.6% เหมืองแร่ 0.2 % อื่นๆ 6.0% เกษตร 5.1% อาหารและเครื่องดื่ม 28.1% ขนส่ง 37.7% อุตสาหกรรม36.3 % สิ่งทอ 4.6% ธุรกิจ 6.2% ที่อยู่อาศัย 14.3% ก่อสร้าง 0.2 % เคมี 12.1% อโลหะ 33.5% กระดาษ 3.6% ไม้และเครื่องเรือน 0.9% การใช้พลังงานในภาคอุตฯและธุรกิจ 26,487 ktoe (505,000 ล้านบาท) เติบโต 2.56% ที่มา : รายงานการใช้พลังงานปี 2548 พพ.

2 เป้าหมายการอนุรักษ์พลังงานปี 2548-2554
ktoe Energy Elasticity = Growth (Energy) Growth (GDP) 75,000 ล้านบาท/ปี EE 0.85 : 1 30,000 ล้านบาท/ปี EE 0.9 : 1 เป้าหมายเดิม ’46 จาก 1.2 : 1  1 : 1 New Challenge  : 1 ประหยัดพลังงานสะสม ‘48–‘51 เป็นมูลค่า 66,000 ล้านบาท ประหยัดพลังงานสะสม ‘48–‘54 เป็นมูลค่า 243,000 ล้านบาท กรอบการดำเนินงาน ศึกษา สาธิตและเผยแพร่เทคโนโลยีขั้นสูง High Tech. Process Improvement Energy Management มาตรการภาษี เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ ฝึกอบรม /ให้ความรู้ กฏหมาย การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ข้อมูล/ข่าวสาร

3 มาตรการ ผลงานและแผน กฏหมาย/ข้อบังคับ เสนอแก้ไขกฎหมาย ดำเนินการแล้ว
ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป ลดขั้นตอนการทำ Prelim & Detailed audit เปิดโอกาสให้โรงงาน/ อาคารจัดทำT&Pได้เอง ยกเลิกการให้เงิน สนับสนุนโดยตรง (1แสนบาท, 5 แสนบาท , เงินลงทุน) ปฏิบัติตามกฏหมาย 87% อาคารควบคุม 1,908 แห่ง - มีผู้รับผิดชอบ 1,718 แห่ง - ส่ง บพอ. 1,736 แห่ง - ส่ง T&P 1,468 แห่ง - ศักยภาพผลประหยัด 593ล้านบาท โรงงานควบคุม 3,083 แห่ง - มีผู้รับผิดชอบ 2,539 แห่ง - ส่ง บพร. 2,617 แห่ง - ส่ง T&P 1,915 แห่ง - ศักยภาพผลประหยัด3,640ล้านบาท เสนอแก้ไขกฎหมาย - แยกการกำกับอาคารของรัฐและเอกชนออกจากกัน - ออกมาตรฐานการจัดการพลังงานในโรงงาน/อาคาร - ปรับมาตรฐานการใช้พลังงานในอาคารให้เหมาะสำหรับอาคารแต่ละประเภท - ปรับการบังคับให้เหมาะสมกับขนาดของโรงงาน/อาคาร งบประมาณ 4,507 ล้านบาท ปัญหาอุปสรรค โรงงาน/อาคารขาดความพร้อมด้านบุคลากร โดยเฉพาะภาครัฐ เช่น หน่วยงานศาล ขาดการบังคับใช้บทลงโทษ - ค่าธรรมเนียมไฟฟ้าพิเศษ ใช้ได้เฉพาะผู้ใช้ไฟฟ้าเท่านั้น ไม่เสมอภาค - ไม่มีมาตรฐานการใช้พลังงานในโรงงาน - มาตรฐานการใช้พลังงานในอาคารบางแห่ง ไม่คุ้มกับการลงทุน

4 มาตรการ ผลงานและแผน การบริหารจัดการพลังงานแบบมีส่วนร่วม ลักษณะโครงการ
ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป ส่งที่ปรึกษาเข้าไปฝึกอบรมและกระตุ้นการดำเนินการแบบมีส่วนร่วม และสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งระดับบริหาร วิศวกรรม ปฏิบัติการ สร้างทีมงานและระบบการจัดการพลังงานเพื่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานอย่างยั่งยืน รวม 821 แห่ง โรงงาน 634 แห่ง (โลหะ, อาหาร, เคมี, สิ่งทอ) อาคาร 187 แห่ง (ห้างสรรพสินค้า, อาคารสำนักงาน) ผลประหยัด 940 ล้านบาท/ปี (Housekeeping, Low cost measures) ปี 50 โรงงาน/อาคาร 330แห่ง ผลประหยัด 110 ล้านบาท/ปี ระยะยาว พัฒนามาตรฐานการจัดการพลังงาน ผลักดันเป็นมาตรฐานอุตสาหกรรม เอกชนร่วมออกค่าใช้จ่ายในการจัดจ้างที่ปรึกษา (Cost Sharing) งบประมาณ ล้านบาท ปัญหาอุปสรรค วัฒนธรรมองค์กรของโรงงาน/อาคาร โรงงาน/อาคารขาดความใส่ใจที่จะดำเนินการต่อ

5 มาตรการ ผลงานและแผน ฝึกอบรม /ให้ความรู้ หลักสูตร
ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป อบรมผู้รับผิดชอบด้านพลังงานสามัญ/อาวุโส PRE สามัญ ตาม พรบ. PRE อาวุโสเสริมความรู้ความสามารถ อบรมการอนุรักษ์พลังงานหลักสูตรอื่นๆ การบริหารจัดการพลังงาน การตรวจวิเคราะห์การใช้พลังงาน การอนุรักษ์พลังงานในระบบการใช้พลังงานหลัก การอนุรักษ์พลังงานแยกตามประเภทอุตสาหกรรม/อาคารธุรกิจ การเดินเครื่องจักรและบำรุงรักษา ร่วมมือกับกรมอาชีวศึกษา บรรจุหลักสูตรเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน อบรม PRE สามัญ 6,000 คน อบรม PRE อาวุโส 250 คน อบรมหลักสูตรอื่นๆ 6,750 คน ได้บรรจุวิชาด้านอนุรักษ์พลังงาน 4 วิชาในหลักสูตรของกรมอาชีวศึกษา ได้อบรมครูวิทยาลัยเทคนิค(นำร่อง) 40 คน และนักศึกษา 2,250 คน ปี 50 อบรม 30,000 คน ระยะยาว พพ. พัฒนาหลักสูตรและให้เอกชนจัดอบรมโดยเก็บค่าใช้จ่ายจากผู้เข้ารับการอบรม อบรมครูวิทยาลัยเทคนิค 500 คน งบประมาณ ล้านบาท

6 มาตรการ ผลงานและแผน ข้อมูล/ข่าวสาร ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป
ศูนย์รวมองค์ความรู้ : - พัฒนารวบรวม แยกแยะ วิเคราะห์ ข้อมูล/องค์ ความรู้ด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน - จัดทำระบบเผยแพร่ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงได้สะดวก รวดเร็ว คลีนิกพลังงาน หน่วยลูกค้าสัมพันธ์ : - ถ่ายทอดองค์ความรู้ ข้อมูลข่าวสารด้านพลังงาน - จัดทำคู่มือ สื่อความรู้ต่างๆ ปี ให้บริการผู้ประกอบการ ประชาชนทั้งหมด 13,300 ครั้ง พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและการให้บริการ สะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น จัดตั้งเครือข่ายวิชาการในสาขาอุตสาหกรรมต่างๆ งบประมาณ ล้านบาท

7 มาตรการ ผลงานและแผน มาตรการภาษี ผลการดำเนินงาน ’45-’48 ลักษณะโครงการ
Cost-Based - ผู้เข้าร่วมโครงการ 92 ราย - ผลประหยัด 360 ล้านบาท/ปี - ลงทุน 564 ล้านบาท(เอกชน) - ลดภาษี 42 ล้านบาท - งบประมาณจ่ายจริงตาม การดำเนินงาน 17.3 ล้านบาท Performance-Based - อนุมัติเข้าร่วมโครงการ 119 ราย - ผลประหยัด 575 ล้านบาท/ปี - ลงทุน 997 ล้านบาท - เงินอุดหนุนเพื่อชดเชย ภาษี 98.7 ล้านบาท BOI - ผู้ได้รับการส่งเสริม 12 ราย (ผลิต5ราย, ESCO 4ราย,ยกเว้นอากร3ราย) - ผลประหยัด 99 ล้านบาท งานระยะต่อไป ปี 50 ผลประหยัด 330 ล้านบาท/ปี ระยะยาว กำหนดวิธีการดำเนินงานที่ชัดเจนกับกรมสรรพากร หากเป็น Cost-based จะต้องปรับปรุง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และเพิ่มสิทธิประโยชน์ (เสนอ 2 เท่า)รวมถึงลดขั้นตอนการตรวจสอบผลประหยัด Cost-based :หักค่าใช้จ่าย 1.25เท่าของเงินลงทุน Performance-based :หักคืนภาษี 30% ของผลประหยัด BOI : ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี,ยกเว้นอากรขาเข้า ปัญหาอุปสรรค ยังขาดทิศทางที่ชัดเจน (Cost/Performance) ขาดความเชื่อมั่น ขัดกับผลงานที่ต้องทำจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Incentive ไม่จูงใจ(เสนอ เพิ่มเป็น 2 เท่า) ขั้นตอนยุ่งยาก

8 มาตรการ ผลงานและแผน เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ สถาบันการเงินที่เข้าร่วมโครงการ
ลักษณะโครงการ ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป เป็นเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ โดยปล่อยผ่านสถาบันการเงินในอัตราดอกเบี้ยไม่เกิน 4 % สำหรับการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน เฟส 1: (46-48) ผู้เข้าร่วมโครงการ 82 ราย เกิดการลงทุน 3,500 ล้านบาท จากเงินหมุนเวียน 2,000 ล้านบาท ผลประหยัด 1,495 ล้านบาท/ปี เฟส 2: (6 เดือน) ผู้เข้าร่วมโครงการ 53 ราย เกิดการลงทุน 2,400 ล้านบาท จากเงินหมุนเวียน 1,160 ล้านบาท ผลประหยัด 1,192 ล้านบาท/ปี ปี 50 ผลประหยัด 1,500 ล้านบาท/ปี ระยะยาว พพ. ลดบทบาทการเป็นแหล่งเงินทุน เปลี่ยนเป็นการให้บริการด้านเทคนิค อบรมเจ้าหน้าที่สถาบันการเงินให้มีความรู้ด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน สถาบันการเงินที่เข้าร่วมโครงการ

9 มาตรการ ผลงานและแผน ศึกษา สาธิตและเผยแพร่เทคโนโลยีขั้นสูง
ลักษณะโครงการ ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป เลือกกลุ่มอุตสาหกรรมที่มีความสำคัญทางเศรษฐกิจและมีการใช้พลังงานสูง ศึกษาพฤติกรรมการใช้พลังงานและกระบวนการผลิตรวมถึงเทคโนโลยีขั้นสูงที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพพลังงานและมีศักยภาพในการขยายผล สาธิตเทคโนโลยีกับโรงงานตัวอย่าง(ให้เงินอุดหนุน 20%)และเผยแพร่ให้กลุ่มอุตสาหกรรม ได้คัดเลือกอุตสาหกรรมและศึกษาการใช้พลังงานโดยละเอียดใน 6 กลุ่มอุตสาหกรรม - อาหาร - สิ่งทอ - โรงแรม - พลาสติก - เหล็ก - อิเล็คทรอนิกส์ ปี 50 สาธิตเทคโนโลยีระดับสูง เช่น เครื่องฉีดพลาสติกประสิทธิภาพสูง Hybrid heating Slag foaming technology Innovative heat storage Coal water mixer ผลประหยัด 175 ล้านบาท/ปี งบประมาณ 49 ล้านบาท

10 มาตรการ ผลงานและแผน - บาท ความร่วมมือภาคเอกชน งบประมาณ ลักษณะโครงการ
ผลการดำเนินงาน ’45-’48 งานระยะต่อไป ปี 50 ขยายความร่วมมือกับสภาอุตสาหกรรมและการนิคมอุตสาหกรรม ร่วมมือกับหอการค้าไทย นิคมอุตสาหกรรม สภาอุตสาหกรรมฯ เพื่อจัดตั้งศูนย์ปรึกษาฯ ร่วมมือกับกลุ่มอุตสาหกรรม เครือธุรกิจต่างๆ โดย พพ ไปให้ความรู้ เพื่อสร้างทีมงานและสร้างผู้เชี่ยวชาญด้านอนุรักษ์พลังงาน เพื่อมุ่งหวังให้ภาคเอกชนขยายผลการดำเนินการระหว่างกันเอง งบประมาณ - บาท

11 ภาพรวมผลการดำเนินงาน 45-48
ktoe 1,312 ktoe/ปี BaUs case Actual ลดการใช้พลังงานภาคอุตฯและธุรกิจ : สามารถประหยัดพลังงานได้ 1,312 ktoe/ปี คิดเป็นเงิน 25,000 ล้านบาท/ปี* (จากการดำเนินการโดยตรง 7,700 ล้านบาท/ปี) งบประมาณ 6,328 ล้านบาท (ตามกฏหมาย 4,507 ล้านบาท) การฝึกอบรม อบรม PRE สามัญ 6,000 คน อบรม PRE อาวุโส 250 คน อบรมหลักสูตรอื่นๆ 6,750 คน การปฏิบัติตามกฏหมาย โรงงานควบคุม 2,510 แห่ง อาคารควบคุม 1,605 แห่ง * 1 ktoe ประมาณ ล้านบาท

12 ข้อเสนอเพื่อพิจารณา เจรจากับ ก.คลัง ให้ขยายขอบเขตและเงื่อนไข รวมถึงสิทธิประโยชน์ให้จูงใจมากขึ้น (2 เท่า) ผลักดันการแก้ไขกฏหมาย (พรบ. ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน 2535)

13 การอนุรักษ์พลังงานภาคอุตสาหกรรม และธุรกิจ
กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน 20 ตุลาคม 2549

14 การอนุรักษ์พลังงานภาคอุตสาหกรรมและธุรกิจ
ภาพรวมการใช้พลังงาน เป้าหมายการดำเนินงาน ภาพรวมผลการดำเนินงานที่ผ่านมา เป้าหมาย ข้อเสนอเพื่อพิจารณา

15 เป้าหมาย ปี 50 ระยะยาว งบประมาณ 640 ล้านบาท กฏหมาย ปรับปรุงแก้ไขกฏหมาย
High Tech. Process Improvement Energy Management เป้าหมาย ปี 50 ระยะยาว กฏหมาย ปรับปรุงแก้ไขกฏหมาย บังคับใช้บทลงโทษ อย่างมีประสิทธิภาพ โรงงาน/อาคาร 330แห่ง ผลประหยัด 110 ล้านบาท/ปี การบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วม ให้ภาคเอกชนและสถาบันการศึกษา ดำเนินการเอง ตามกลไกตลาดโดย พพ. ผลักดันและควบคุมมาตรฐาน ฝึกอบรม /ให้ความรู้ อบรม 30,000 คน ศูนย์ปรึกษา ศูนย์ข้อมูล ศูนย์รวมองค์ความรู้ ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล/ข่าวสาร มาตรการภาษี ผลประหยัด 330 ล้านบาท/ปี ก.คลัง และ BOI ดำเนินการเอง พพ.ช่วยเหลือทางเทคนิค เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ ผลประหยัด 1,500 ล้านบาท/ปี สถาบันการเงินปล่อย สินเชื่อด้วยตนเอง ศึกษา สาธิตและ เผยแพร่เทคโนโลยีขั้นสูง ผลประหยัด 175 ล้านบาท/ปี งบประมาณ 640 ล้านบาท

16 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
พรบ.การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน 2535 กฏหมาย/ข้อบังคับ งบประมาณ ล้านบาท ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ปฏิบัติตามกฏหมายร้อยละ 87% อาคารควบคุม 1,908 แห่ง มีผู้รับผิดชอบ 1,718 แห่ง ส่ง บพอ. 1,736 แห่ง ส่ง T&P 1,468 แห่ง ศักยภาพผลประหยัด 593 ล้านบาท โรงงานควบคุม 3,083 แห่ง มีผู้รับผิดชอบ 2,539 แห่ง ส่ง บพร. 2,617 แห่ง ส่ง T&P 1,915 แห่ง ศักยภาพผลประหยัด 3,640 ล้านบาท สิ่งที่ดำเนินการแล้ว ลดขั้นตอนการทำ Prelim & Detailed audit เปิดโอกาสให้โรงงาน/อาคารจัดทำT&Pได้เอง ยกเลิกการให้เงินสนับสนุนโดยตรง (1แสนบาท, 5 แสนบาท, เงินลงทุน) ปัญหาอุปสรรค โรงงาน/อาคารขาดความพร้อมด้านบุคลากร โดยเฉพาะภาครัฐ เช่น หน่วยงานศาล ขาดการบังคับใช้บทลงโทษ ค่าธรรมเนียมไฟฟ้าพิเศษ ใช้ได้เฉพาะ ผู้ใช้ไฟฟ้าเท่านั้น ไม่เสมอภาค ไม่มีมาตรฐานการใช้พลังงานในโรงงาน มาตรฐานการใช้พลังงานในอาคารบางแห่ง ไม่คุ้มกับการลงทุน Update : 19 ตค 49 แนวทางในระยะต่อไป เสนอแก้ไขกฎหมาย แยกการกำกับอาคารของรัฐและเอกชนออกจากกัน ปรับระเบียบการจัดซื้ออุปกรณ์ของหน่วยงานภาครัฐ ออกมาตรฐานการจัดการพลังงานในโรงงาน/อาคาร ปรับมาตรฐานการใช้พลังงานในอาคารให้เหมาะสำหรับอาคารแต่ละประเภท ปรับการบังคับให้เหมาะสมกับขนาดของโรงงาน/อาคาร กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

17 ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
การบริหารจัดการพลังงานแบบมีส่วนร่วม งบประมาณ ล้านบาท ลักษณะโครงการ ส่งที่ปรึกษาเข้าไปฝึกอบรมและกระตุ้นการดำเนินการแบบมีส่วนร่วม และสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งระดับบริหาร วิศวกรรม ปฏิบัติการ สร้างทีมงานและระบบการจัดการพลังงานเพื่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานอย่างยั่งยืน ปัญหาอุปสรรค วัฒนธรรมองค์กรของโรงงาน/อาคาร โรงงาน/อาคารขาดความใส่ใจที่จะดำเนินการต่อ แนวทางในระยะต่อไป พัฒนามาตรฐานการจัดการพลังงาน ผลักดันเป็นมาตรฐานอุตสาหกรรม เอกชนร่วมออกค่าใช้จ่ายในการจัดจ้างที่ปรึกษา (Cost Sharing) ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวม 821 แห่ง โรงงาน 634 แห่ง (โลหะ, อาหาร, เคมี, สิ่งทอ) อาคาร 187 แห่ง (ห้างสรรพสินค้า, อาคารสำนักงาน) ผลประหยัด 940 ล้านบาท/ปี (Housekeeping, Low cost measures) เพิ่ม BACK UP

18 การบริหารจัดการพลังงานแบบมีส่วนร่วม
งบประมาณ ล้านบาท ลักษณะโครงการ ส่งที่ปรึกษาเข้าไปฝึกอบรมและกระตุ้นการดำเนินการแบบมีส่วนร่วม และสร้างจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์พลังงาน ทั้งระดับบริหาร วิศวกรรม ปฏิบัติการ สร้างทีมงานและระบบการจัดการพลังงานเพื่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานอย่างยั่งยืน ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา รวม 821 แห่ง โรงงาน 634 แห่ง (โลหะ, อาหาร, เคมี, สิ่งทอ) อาคาร 187 แห่ง (ห้างสรรพสินค้า, อาคารสำนักงาน) ผลประหยัด 940 ล้านบาท/ปี (Housekeeping, Low cost measures) แนวทางในระยะต่อไป พัฒนามาตรฐานการจัดการพลังงาน ผลักดันเป็นมาตรฐานอุตสาหกรรม เอกชนร่วมออกค่าใช้จ่ายในการจัดจ้างที่ปรึกษา (Cost Sharing) ปัญหาอุปสรรค วัฒนธรรมองค์กรของโรงงาน/อาคาร โรงงาน/อาคารขาดความใส่ใจที่จะดำเนินการต่อ

19 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
ข้อมูล/ข่าวสาร งบประมาณ ล้านบาท สิ่งที่ดำเนินการแล้ว ศูนย์รวมองค์ความรู้ : พัฒนารวบรวม แยกแยะ วิเคราะห์ ข้อมูล/องค์ ความรู้ด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน จัดทำระบบเผยแพร่ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงได้สะดวก รวดเร็ว คลีนิกพลังงาน หน่วยลูกค้าสัมพันธ์ : ถ่ายทอดองค์ความรู้ ข้อมูลข่าวสารด้านพลังงาน จัดทำคู่มือ สื่อความรู้ต่างๆ แนวทางในระยะต่อไป พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและการให้บริการ สะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ปี ให้บริการผู้ประกอบการ ประชาชนทั้งหมด 13,300 ครั้ง ทำกับใครบ้าง

20 ข้อมูล/ข่าวสาร สิ่งที่ดำเนินการแล้ว ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา
งบประมาณ ล้านบาท สิ่งที่ดำเนินการแล้ว ศูนย์รวมองค์ความรู้ : พัฒนารวบรวม แยกแยะ วิเคราะห์ ข้อมูล/องค์ ความรู้ด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน จัดทำระบบเผยแพร่ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงได้สะดวก รวดเร็ว คลีนิกพลังงาน หน่วยลูกค้าสัมพันธ์ : ถ่ายทอดองค์ความรู้ ข้อมูลข่าวสารด้านพลังงาน จัดทำคู่มือ สื่อความรู้ต่างๆ ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ปี ให้บริการผู้ประกอบการ ประชาชนทั้งหมด 13,300 ครั้ง แนวทางในระยะต่อไป พัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารและการให้บริการ สะดวกรวดเร็วและมีประสิทธิภาพมากขึ้น

21 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
ฝึกอบรม /ให้ความรู้ งบประมาณ ล้านบาท ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา อบรม PRE สามัญ 6,000 คน อบรม PRE อาวุโส 250 คน อบรมหลักสูตรอื่นๆ 6,750 คน ร่วมมือกับกรมอาชีวศึกษา อบรมด้าน อนุรักษ์พลังงาน ครู 40 คน นักศึกษา 2,250 คน สิ่งที่ดำเนินการแล้ว อบรมผู้รับผิดชอบด้านพลังงานสามัญ/อาวุโส PRE สามัญ ตาม พรบ. PRE อาวุโสเสริมความรู้ความสามารถ อบรมการอนุรักษ์พลังงานหลักสูตรอื่นๆ การบริหารจัดการพลังงาน การตรวจวิเคราะห์การใช้พลังงาน การอนุรักษ์พลังงานในระบบการใช้พลังงานหลัก การอนุรักษ์พลังงานแยกตามประเภทอุตสาหกรรม/อาคารธุรกิจ การเดินเครื่องจักรและบำรุงรักษา พัฒนาศูนย์แสดงเทคโนโลยี/ศูนย์รวมองค์ความรู้ ร่วมมือกับกรมอาชีวศึกษา บรรจุหลักสูตรเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน แนวทางในระยะต่อไป พพ. พัฒนาหลักสูตรและให้เอกชนจัดอบรมโดยเก็บค่าใช้จ่ายจากผู้เข้ารับการอบรม การประเมินผล ความเหมาะสมของหลักสูตร เนื้อหาคู่มือ เอกสารประกอบ ผลปฏิบัติจริงภายหลักรับการฝึกอบรม (ทุก 2 ปี)

22 ฝึกอบรม /ให้ความรู้ ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ดำเนินการแล้ว
อบรม PRE สามัญ 6,000 คน อบรม PRE อาวุโส 250 คน อบรมหลักสูตรอื่นๆ 6,750 คน ร่วมมือกับกรมอาชีวศึกษา อบรมด้าน อนุรักษ์พลังงาน ครู 40 คน นักศึกษา 2,250 คน สิ่งที่ดำเนินการแล้ว อบรมผู้รับผิดชอบด้านพลังงานสามัญ/อาวุโส PRE สามัญ ตาม พรบ. PRE อาวุโสเสริมความรู้ความสามารถ อบรมการอนุรักษ์พลังงานหลักสูตรอื่นๆ การบริหารจัดการพลังงาน การตรวจวิเคราะห์การใช้พลังงาน การอนุรักษ์พลังงานในระบบการใช้พลังงานหลัก การอนุรักษ์พลังงานแยกตามประเภทอุตสาหกรรม/อาคารธุรกิจ การเดินเครื่องจักรและบำรุงรักษา พัฒนาศูนย์แสดงเทคโนโลยี/ศูนย์รวมองค์ความรู้ ร่วมมือกับกรมอาชีวศึกษา บรรจุหลักสูตรเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงาน แนวทางในระยะต่อไป พพ. พัฒนาหลักสูตรและให้เอกชนจัดอบรมโดยเก็บค่าใช้จ่ายจากผู้เข้ารับการอบรม

23 ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา Cost-Based
งบประมาณ Cost based วงเงิน 100 ล้านบาท (จ่ายจริงตามการดำเนินงาน 17.3 ล้านบาท) Performance-based ชดเชย 100 ล้านบาท บริหาร,ตรวจสอบ 24 ล้านบาท BOI 0 บาท มาตรการภาษี ลักษณะโครงการ Cost-based :หักค่าใช้จ่าย 1.25เท่าของเงินลงทุน Performance-based :หักคืนภาษี 30% ของผลประหยัด BOI : ยกเว้นภาษีเงินได้ 8 ปี,ยกเว้นอากรขาเข้า ปัญหาอุปสรรค ยังขาดทิศทางที่ชัดเจน (Cost/Performance) ขาดความเชื่อมั่น ขัดกับผลงานที่ต้องทำจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง Incentive ไม่จูงใจ(เสนอ เพิ่มเป็น 2 เท่า) ขั้นตอนยุ่งยาก แนวทางในระยะต่อไป กำหนดวิธีการดำเนินงานที่ชัดเจนกับกรมสรรพากร หากเป็น Cost-based จะต้องปรับปรุง หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และเพิ่มสิทธิประโยชน์ (เสนอ 2 เท่า) ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา Cost-Based ผู้เข้าร่วมโครงการ 92 ราย ผลประหยัด 360 ล้านบาท/ปี ลงทุน 564 ล้านบาท ลดภาษี 42 ล้านบาท Performance-Based อนุมัติเข้าร่วมโครงการ 119 ราย ผลประหยัด 575 ล้านบาท/ปี ลงทุน 997 ล้านบาท ชดเชยภาษี 98.7 ล้านบาท BOI ผู้ได้รับการส่งเสริม 12 ราย (ผลิต5ราย, ESCO 4ราย,ยกเว้นอากร3ราย) ผลประหยัด 99 ล้านบาท

24 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ งบประมาณ ล้านบาท ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา เฟส 1: (46-48) ผู้เข้าร่วมโครงการ 82 ราย เกิดการลงทุน 3,500 ล้านบาท ผลประหยัด 1,495 ล้านบาท/ปี เฟส 2: (6 เดือน) ผู้เข้าร่วมโครงการ 53 ราย เกิดการลงทุน 2,400 ล้านบาท ผลประหยัด 1,192 ล้านบาท/ปี ลักษณะโครงการ เป็นเงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ โดยปล่อยผ่านสถาบันการเงินในอัตราดอกเบี้ยไม่เกิน 4 % สำหรับการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทน แนวทางในระยะต่อไป เพิ่ม BACK UP 2,000 1,550 11,600 > 15,000 ระยะที่ 1 ‘46 – ‘48 ระยะที่ 2 ’49 – ‘50 ระยะที่ 3 ’51 – ‘54 กองทุนฯ (ล้านบาท) สถาบันการเงิน พพ. ลดบทบาทการเป็นแหล่งเงินทุน เปลี่ยนเป็นการให้บริการด้านเทคนิค

25 กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน
ความร่วมมือภาคเอกชน งบประมาณ 0 บาท มุ่งขยายผลโดยภาคเอกชน ความสำเร็จกับเครือเจริญโภคภัณฑ์ พพ. เอกสารเผยแพร่ ผลประหยัด 1000 ล้านบาทในปี 48 พพ. ให้ความรู้และ สร้างทีมงานด้านการ ประหยัดพลังงาน ให้ความรู้ ภาคเอกชนอื่นๆ ฝึกอบรม /ส่งผู้เชี่ยวชาญ สร้างทีมงาน บุคลากรในเครือ 550 คน บริษัทในเครือ 7,700 แห่ง สร้างผู้เชี่ยวชาญ สร้างเครือข่ายความร่วมมือ กรอพ. การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หอการค้าไทย ศูนย์ปรึกษาการประหยัดพลังงาน


ดาวน์โหลด ppt ภาพรวมสถานการณ์พลังงานปี 2548

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google