งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ
พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ นายสมชาย ตู้แก้ว ผู้อำนวยการศูนย์บริหารกฎหมายสาธารณสุข

2 ความหมาย องค์การอนามัยโลก ให้ความหมายว่า...
การประเมินผลกระทบทางสุขภาพ คือ กระบวนการตัดสินคุณค่าของนโยบาย แผนงาน หรือโครงการ โดยพิจารณาที่ผลกระทบและการกระจายของผลกระทบนั้นที่อาจจะเกิดขึ้นต่อสุขภาพของประชาชน โดยใช้วิธีการ กระบวนการและเครื่องมือในการประเมินหลายชนิดร่วมกัน (WHO, 1999)

3 ความหมาย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข ให้ความหมายว่า...
การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพเป็นกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันในสังคม โดยมีการประยุกต์ใช้แนวทางและเครื่องมือที่หลากหลายในการระบุ คาดการณ์และพิจารณาถึงผลกระทบทางสุขภาพที่อาจจะเกิดขึ้นหรือเกิดขึ้นแล้วกับประชากรกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง เนื่องมาจาก ข้อเสนอหรือ การดำเนินนโยบาย แผนงาน โครงการ หรือกิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยหวังผลเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจในทางเลือกที่ดีที่สุดสำหรับ การสร้างเสริมและคุ้มครองสุขภาพสำหรับประชาชนทุกกลุ่ม

4 เจตนารมณ์ของกฎหมายการสาธารณสุข
เพื่อจัดการปัจจัยที่จะมีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน

5 แผนภูมิโครงสร้างอำนาจหน้าที่ตาม พรบ.สธ.
รมต. กฎ/ประกาศกระทรวง แต่งตั้ง คณะ กก.สธ. อธิบดีกรมอนามัย สนับสนุน สอดส่องดูแล แจ้ง จพง. สธ. คณะอนุกก. ราชการส่วนท้องถิ่น จพง.ท้องถิ่น ออกข้อกำหนด อนุญาต/ไม่อนุญาต ออกคำสั่ง อุทธรณ์ ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งฯ ออกคำสั่ง ตาม ม.8 ผปก./เอกชน/ประชาชน มีการฝ่าฝืน พรบ. คณะกรรมการเปรียบเทียบคดี จพง.ท้องถิ่น/ผู้ได้รับมอบหมาย เปรียบเทียบคดี(ปรับ) ดำเนินคดีทางศาล 11

6 อำนาจหน้าที่ของรัฐมนตรี และคณะกรรมการสาธารณสุข
รมว.สธ. 1.แต่งตั้ง จพส., ผู้ทรงคุณวุฒิ 2.ออกกฎฯ ประกาศฯ 3.พิจารณา คำอุทธรณ์ 4. ออกกฎฯ/ประกาศฯ มาตรฐาน หลักเกณฑ์ 5. กำหนดนโยบาย แผนงาน มาตรการ 6. ปรับปรุงกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับ คำสั่ง 7. อนุมัติการใช้ข้อกำหนดท้องถิ่นที่แตกต่าง 1.ให้คำแนะนำ 2.ให้ความเห็น 3.ให้ความเห็นชอบ 6. กำหนดโครงการ ประสานงาน ส่วนราชการอื่น คณะกรรมการฯ รายงาน ออกข้อกำหนด 4. ให้คำแนะนำและปรึกษา จพง.ท้องถิ่น ปฏิบัติตาม พรบ. 5. ควบคุม/สอดส่อง สั่ง ผู้มีอำนาจ ควบคุมดูแล เมื่อพบว่าไม่ดำเนิน การตามอำนาจหน้าที่ โดยไม่มีเหตุผล แจ้ง 7. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ 1

7 อำนาจหน้าที่ของเจ้าพนักงานท้องถิ่น
เสนอ “ร่าง ข้อกำหนดของท้องถิ่น” ออกใบอนุญาต/หนังสือรับรองการแจ้ง ตรวจตราดูแลกิจการต่าง ๆ ออกคำสั่งให้ผู้ประกอบการ/บุคคล แก้ไขปรับปรุง ออกคำสั่งให้หยุดกิจการ/พักใช้/เพิกถอนใบอนุญาต เปรียบเทียบคดีที่อยู่ในอำนาจ แต่งตั้งผู้ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจาก จพถ. ตาม ม. 44 วรรคสอง ภารกิจอื่นๆ ที่ระบุไว้ใน พรบ.

8 ขั้นตอนการดำเนินการ ตามกฎหมายการสาธารณสุข
(1)การตรากฎหมาย* (2)การอนุญาต* (3)การออกคำสั่ง (4)การดำเนินคดี

9 ความเกี่ยวข้องของ HIA กับกฎหมายการสาธารณสุข
ระดับชาติ(รัฐมนตรี) การกำหนดนโยบายทางด้านสาธารณสุข การออกกฎกระทรวง / ประกาศกระทรวง ระดับพื้นที่(องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) การออกข้อบัญญัติท้องถิ่น การอนุญาต


ดาวน์โหลด ppt พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ กับ การประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google