ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThong thao Noppachorn ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
การจัดสรรเงินเหมาจ่ายรายหัว สำหรับหน่วยบริการในสังกัด สป.สธ. 2556
2
ค่าบริการที่ประมาณการจ่ายเบื้องต้น สป.สธ. 2556
ประกอบด้วย 4 รายการได้แก่ 1. ค่าบริการ OP ที่จ่ายแบบเหมาจ่ายตามประชากร 2. เงินเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง 3. ค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 3.1 จ่ายแบบเหมาจ่ายตามประชากร (PP Expressed demand) 3.2 บริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน 4. ค่าบริการ IP ทั้งบริการในเขตและนอกเขต
3
การจัดสรรค่าบริการ OP Capitation
จัดสรรเบื้องต้นโดยใช้ฐานประชากร UC ณ กรกฎาคม ด้วยอัตรา Diff Capitation ระดับจังหวัด + อัตราเท่ากัน ที่ บาท ต่อหัวประชากร UC สำหรับหน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการใหม่ ใน ปีงบประมาณ หรือรับโอนประชากรจาก หน่วยบริการอื่นจะมีการปรับฐานประชากรตามข้อมูลที่ ได้ประสานเพิ่มเติมกับ สปสช.เขต
4
ประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ งบผู้ป่วยนอกแบบจ่ายรายหัว
ปี2555 ปี2556 จำนวนเงิน บาท:ประชากร แบ่งเป็น 2 ส่วน 1. จำนวน บาท:ประชากร Diff Cap ตามโครงสร้างอายุประชากร โดย 1.1 สป.สธ. Diff Cap ระดับจังหวัด และปรับให้แต่ละจังหวัดต่างกันไม่เกินค่าเฉลี่ย ±10% 1.2 หน่วยบริการอื่นๆ Diff Cap ระดับ CUP และปรับให้แต่ละ CUP ต่างกันไม่เกินค่าเฉลี่ย ±10% 2. จำนวน บาท:ประชากรจ่ายในอัตราที่เท่ากัน จำนวนเงิน บาท:ประชากร แบ่งเป็น 2 ส่วน 2. จำนวน บาท:ประชากรจ่ายในอัตราที่เท่ากัน (เพิ่มขึ้น บาท)
5
หลักเกณฑ์การจ่ายงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูง
บริหารจัดการเป็นภาพรวมระดับประเทศ ใช้ผลการศึกษาสมการต้นทุน (cost function) ของหน่วยบริการและเครือข่ายหน่วย บริการ (CUP) ที่มีโรงพยาบาลขนาด เตียง และข้อมูลงบการเงินของ หน่วยบริการและเครือข่ายหน่วยบริการ โดยประยุกต์จ่ายดังนี้ 1. เปรียบเทียบผลการคำนวณตาม cost function กับการคำนวณ OP Cap หาก มากกว่าให้จ่ายงบเพิ่มสำหรับหน่วยบริการที่มีต้นทุนคงที่สูงเท่ากับผลต่างระหว่างผลการ คำนวณcost function กับ OP Cap 2. สำหรับจังหวัดที่มีประชากร UC น้อยกว่า 300,000คน ปรับให้ภาพรวมของ งบประมาณระดับจังหวัด (เฉพาะค่าบริการOPรวม IPและ PP) หลังหักเงินเดือน ให้ได้ไม่ น้อยกว่าค่าเฉลี่ยของทุกจังหวัดหักหนึ่งส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (ค่าเฉลี่ย-1SD) 3. ให้คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง เป็นผู้พิจารณาจ่ายเพิ่ม สำหรับหน่วยบริการเป้าหมายมีภาระในการสงเคราะห์การให้บริการประชากรอื่นๆ เช่น หน่วยบริการในพื้นที่ติดชายแดนของจังหวัดตาก แม่ฮ่องสอน สระแก้ว หรือกรณีอื่นๆ
6
การจัดสรรเงิน P&P Expressed demand
ร้อยละ 50 ตามจำนวนประชากรไทย ณ 1 กรกฎาคม 55 ร้อยละ 25 ตามจำนวนเป้าผลงานแต่ละกลุ่ม ร้อยละ 25 จากผลงานบริการปีที่ผ่านมา 2. คำนวณจัดสรรเบื้องต้นให้กับหน่วยบริการประจำ ตามจำนวนหัวประชากร UC ณ 1 กรกฎาคม 2555 ด้วยอัตราเฉลี่ยต่อหัวประชากรที่คำนวณได้ตาม ข้อ1 3. สำหรับเงินที่เหลือจากการจัดสรรให้กับหน่วยบริการประจำตามข้อ 2 ให้ อปสจ.จัดสรรเพิ่มให้กับหน่วยบริการในจังหวัด Specific group ▪ หญิงตั้งครรภ์และหลังคลอด ▪ เด็ก 0-5 ปี ▪ เด็ก 6-13 ปี ▪ ผู้ใหญ่ ปี ▪ ผู้สูงอายุ
7
ประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ งบ P&P Expressed demand
กองทุน ปี2555 ปี2556 PP Exp. Capitation คำนวณตามหัวประชากร UC ณ 1 ก.ค. 54 ในอัตรา บาท : ประชากร จำนวน บาทต่อหัวประชากรไทย ณ 1 ก.ค. 55 คำนวณอัตราจ่ายเป็นภาพรวมของแต่ละหน่วยบริการประจำและจังหวัด จากข้อมูล 3 ส่วน ได้แก่ ประชากร เป้าหมายผลงาน และผลงานปีที่ผ่านมา การจัดสรร 1.จัดสรรให้หน่วยบริการประจำ ตามจำนวนประชากร UC ณ 1 ก.ค. 55 ในอัตราค่าเฉลี่ยต่อประชากรทั้งหมดในจังหวัดที่คำนวณได้ 2. ส่วนที่เหลือให้ อปสจ.จัดสรรเพิ่มเติมให้กับหน่วยบริการประจำ/หน่วยบริการ/สถานพยาบาล/หน่วยงานที่ร่วมให้บริการ PP Specific Group จำนวน บาท : ประชากรทุกสิทธิ ตามกลุ่มเป้าหมายผลงานในแต่ละจังหวัด 1.จัดสรรให้หน่วยบริการประจำ ตามจำนวนประชากร UC ณ 1 ก.ค. 54 ในอัตราไม่น้อยกว่าค่าเฉลี่ยต่อประชากรทั้งหมดในจังหวัด
8
การจัดสรรเงินบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน
ค่าใช้จ่ายสร้างเสริมสุขภาพช่องปากและทันตกรรมป้องกันในกลุ่มเป้าหมายหลักจำนวน บาทต่อประชากรไทย คำนวณจัดสรรเบื้องต้นให้กับหน่วยบริการประจำ ตามจำนวนหัวประชากร UC ณ 1 กรกฎาคม 2555 ด้วยอัตรา ต่อหัวประชากร ให้ อปสจ. พิจารณาปรับเกลี่ยวงเงินและตกลงเป้าหมาย/ผลงานกับหน่วยบริการประจำได้ ตามความเหมาะสมของแต่ละจังหวัด
9
ประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ งบบริการทันตกรรมส่งเสริมป้องกัน
กองทุน ปี2555 ปี2556 PP Dent จำนวน บาท : ประชากรทุกสิทธิ ในแต่ละจังหวัด การจัดสรร 1.จัดสรรเบื้องต้นให้หน่วยบริการประจำ (เฉพาะ สป.สธ.)ตามจำนวนประชากร UC ณ 1 ก.ค บาท : ประชากร 2. ส่งวงเงินทั้งจังหวัด (13.73 บาท : ประชากรทุกสิทธิ) ให้คณะกรรมการกองทุนทันตกรรมระดับจังหวัดจัดสรร ตามกลุ่มเป้าหมายของหน่วยบริการ/สถานพยาบาลแต่ละแห่งในจังหวัด 3. สสจ.สงผลการจัดสรรให้ สปสช.จัดสรรตามแนวทางที่กองทุนทันตกรรมกำหนด จำนวน บาท : ประชากรทุกสิทธิ ในแต่ละจังหวัด 1.จัดสรรเบื้องต้นให้หน่วยบริการประจำ (ทุกสังกัด)ตามจำนวนประชากร UC ณ 1 ก.ค บาท : ประชากร 2. ส่งวงเงินทั้งจังหวัด (14.08 บาท : ประชากรทุกสิทธิ) ให้คณะกรรมการกองทุนทันตกรรมระดับจังหวัดปรับเกลี่ย ตามกลุ่มเป้าหมายของหน่วยบริการ/สถานพยาบาลแต่ละแห่งในจังหวัด 3. สสจ.ส่งผลการจัดสรรให้ สปสช.จัดสรรตามแนวทางที่กองทุนทันตกรรมกำหนด
10
การจัดสรรค่าบริการ IP
ทั้งที่ให้บริการในเขต และนอกเขต ประมาณการ adjRW ที่คาดว่าหน่วยบริการจะทำได้ทั้งปีจาก ผลงานของหน่วยบริการที่ผ่านมา จัดสรรเงิน IP กรณีที่หน่วยบริการให้บริการรักษาผู้ป่วยภายในเขต เดียวกัน ด้วยอัตราจ่ายเบื้องต้นที่ประมาณการได้ในแต่ละเขต จัดสรรเงิน IP กรณีที่หน่วยบริการให้บริการรักษาผู้ป่วยนอกเขต โดย คำนวณจ่ายอัตรา 9,600 บาทต่อ adjRW
11
ประเด็นเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ งบบริการ IP
กองทุน ปี2555 ปี2556 IP GB ระดับเขต - workload 65% - RWต่อปชก.รายกลุ่มอายุ 35% ประมาณการจัดสรรเบื้องต้น 1.IP ที่ให้บริการผู้ป่วยภายในเขตคำนวณจ่ายด้วยอัตราจ่ายต่อน้ำหนักสัมพัทธ์เบื้องต้นในอัตราที่ประมาณการได้ในแต่ละเขต 2.IP ที่ให้บริการผู้ป่วยนอกเขตคำนวณจ่ายอัตรา 9,000 บาทต่อน้ำหนักสัมพัทธ์ - workload 55% - RWต่อปชก.รายกลุ่มอายุ 45% 2.IP ที่ให้บริการผู้ป่วยนอกเขตคำนวณจ่ายอัตรา 9,600 บาทต่อน้ำหนักสัมพัทธ์
12
การหักเงินเดือน หน่วยบริการ สป.สธ.
หักเงินเดือนรวมทั้งหมดจำนวน 31, ล้านบาท เป็นวงเงินเดียวกับปี 55 เนื่องจากอัตราเหมาจ่ายไม่เพิ่มจึงคงหักเงินเดือนเท่าเดิม ให้หักเงินเดือนเป็นภาพรวมใน ระดับจังหวัด กรณีที่อาจมีการเกลี่ยระหว่างจังหวัด ให้มีคณะทำงานร่วมระหว่าง สปสช. และ สป.สธ. เป็นผู้พิจารณาโดยให้คำนึงถึงปัจจัยที่มีผลต่อรายได้และค่าใช้จ่ายของหน่วยบริการตามความเหมาะสม (อนุกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง มีข้อเสนอแนะว่าควรจะปรับลดค่าแรงสำหรับหน่วยบริการภาครัฐแต่ละจังหวัดไม่เกินค่าเฉลี่ยเงินเดือนต่อหัวประชากร+1SD) ให้ สปสช.สาขาจังหวัดเป็นผู้เกลี่ยการหักเงินเดือนระหว่าง CUP ภายในจังหวัด
13
การบริหารของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด
เกลี่ยเงินเดือนระหว่าง CUP ในจังหวัด จัดสรรเงินที่จัดสรรระดับจังหวัดให้กับหน่วยบริการ การบริหารและการกันเงินของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กันเงินค่าวัคซีนพิษสุนัขบ้า กันเงินเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายสำหรับกรณีผู้ป่วยนอกรับส่งต่อ (OP Refer) กันเงินในภาพรวมเพื่อการบริหารระดับจังหวัด
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.