ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยMae Pongsak ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ความก้าวหน้าการดำเนินงาน (Service Plan) สาขาอุบัติเหตุ เครือข่ายจังหวัดสงขลา
นพ.ภควัต จุลทอง โรงพยาบาลหาดใหญ่
2
เป้าหมาย อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนนต่อแสนประชากรลดลง
อัตราตายผู้บาดเจ็บที่ศีรษะลดลง อัตราตายผู้บาดเจ็บหลายระบบลดลง
3
แผนพัฒนา ฐานข้อมูลการบาดเจ็บ ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
การดูแลผู้บาดเจ็บทางสมอง การดูแลผู้บาดเจ็บหลายระบบ
4
ฐานข้อมูลการบาดเจ็บ 1. IS :รพ.หาดใหญ่ รพ.สงขลา รพ.นาทวี
2. ฐานข้อมูลการบาดเจ็บ 19 สาเหตุ:รพ.ชุมชน
5
อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน เครือข่ายบริการที่ 12
จังหวัด ปี 2556 ปี 2557 (ต.ค.-ธ.ค.56) สงขลา 19.81 20.20 ยะลา 14.58 22.08 นราธิวาส 12.69 18.36 ปัตตานี 8.24 4.20 ตรัง 23.20 21.20 พัทลุง 20.96 29.16 สตูล 17.10 11.68
6
ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน ผู้ป่วยเร่งด่วนและฉุกเฉิน (สีแดงและสีเหลือง) ได้รับ Response Time ภายใน 10 นาที หลังได้รับแจ้งเหตุ (EMS) - ปี % - ปี % Response ภายใน 8 นาที เป็นอันดับสองของประเทศ เป็นตัวแทนหน่วย ALS เพื่อเข้าแข่งขัน EMS rally
7
การดูแลผู้บาดเจ็บทางสมอง
มีแนวทางการดูแลผู้บาดเจ็บทางสมองใช้ในทุกโรงพยาบาล
8
โครงการอบรมพัฒนาศักยภาพบุคลากรในการดูแลผู้ป่วย Complete Neuro Care และ Multiple Trauma เครือข่ายบริการที่ 12 กลุ่มเป้าหมาย 1. บุคลากรเครือข่ายบริการสุขภาพที่ 12 จำนวน 160 คน 2. บุคลากรโรงพยาบาลสงขลา /รพช.จังหวัดสงขลา / รพ.กรุงเทพหาดใหญ่ / รพ.ศิครินทร์ /รพ.ราษฎร์ยินดี /รพ.มูลนิธิมิตรภาพสามัคคี / ศูนย์เทศบาล และรพสต.อ.หาดใหญ่ จำนวน 40 คน ระยะเวลาดำเนินการ : วันที่ มีนาคม 2557 สถานที่ดำเนินการ : รพ.หาดใหญ่ งบประมาณ : 129,200 บาท
9
การดูแลผู้บาดเจ็บหลายระบบ
โรงพยาบาลชุมชน Penetrating abdomen with shock refer in 30 minutes Blunt abdomen with shock refer in 60 minutes
10
โรงพยาบาลสงขลา มีการพัฒนาการใช้คะแนนประเมินความรุนแรงของอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ (TRISS ) พบว่า TRISS < 0.25 มีจำนวนมากที่สุด คือ 25 % เป็นกลุ่ม Non - Preventable death รองลงมา TRISS มีจำนวน % เป็นกลุ่ม ที่ถือว่า Preventable death ได้นำเข้าทำ Trauma Audit พบว่า การส่งผู้ป่วยไป OR ล่าช้า ผู้ป่วยอยู่ ใน ER เฉลี่ย 2 ชั่วโมง 27 นาที สาเหตุจาก การทำหัตถการ เช่น การใส่ NG tube / Foley ,s Catheter , การ ทำ Cut down , การส่งตรวจพิเศษ รออ่านผล CT ,ได้รับเลือดช้า
11
แนวทางการพัฒนา 1.การทำหัตถการ เช่น การใส่การใส่ NG tube / Foley ,s Catheter , Cut down ให้ส่งผู้ป่วยทำได้ที่ OR 2. การอ่านFilm ใช้ระบบ PACS สามารถอ่านได้ที่ OR / การ CT ให้ส่งทาง Electronic file รังสีแพทย์แจ้งผลการ อ่าน ทาง Online ภายในเวลา – 30 นาที 3. ผู้ป่วยที่มีภาวะ Hypovolemic Shock สามารถได้รับเลือดกรณีเร่งด่วน ภายใน 15 – 20 นาที 4. ผู้ป่วยที่ผล FAST +VE แพทย์พิจารณาส่ง OR ทันที เพื่อทำ DPL / Explor - lap 5.ทบทวนแนวปฏิบัติ Case Multiple Injury ( เน้น ผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ / บาดเจ็บทรวงอก และช่องท้อง )จากการทบทวนผู้ป่วยเสียชีวิต พบว่าเป็นกลุ่มที่มี TRISS 6.ผู้บริหารมีนโยบาย พัฒนาการผ่าตัดนอกเวลา มีทีมผ่าตัดเพิ่ม ทำให้ผู้ป่วยวิกฤต สามารถเข้า ห้องผ่าตัดได้เร็วขึ้น หลังจากมีการพัฒนาพบว่า ค่าเฉลี่ย การส่งผู้ป่วย จาก ER ไป OR ผู้ป่วย Blunt Injury เฉลี่ย นาที / ผู้ป่วยPenetrating เฉลี่ย 15 นาที ส่งผลให้ใน ปี2555 , อัตรา การเสียชีวิตของผู้บาดเจ็บที่มี PS >0.75 = 0 , 1 ราย
12
ผลการพัฒนาที่สำคัญ 1. การพัฒนาการใช้คะแนนประเมินความรุนแรงของอุบัติเหตุและการบาดเจ็บ(TRISS) 2. มีการทบทวนและพัฒนาการดูแลผู้บาดเจ็บหลายระบบ ในการสัมมนา Trauma Audit ร่วมกับโรงพยาบาลภายในเครือข่าย ทุก 2 เดือน 3.การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยร่วมกันในเครือข่ายเขต 12 เรื่อง แนวทางการดูแล และส่งต่อผู้ป่วยMultiple injury with SHI, แนวทางการดูแลผู้ป่วย Penetrating Abdominal injury with shock 4. มีการพัฒนาสมรรถนะการดูแลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยหายใจ Bird’s การให้ออกซิเจน ชนิดต่างๆ การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต ในโรงพยาบาลเครือข่ายทุกแห่ง
13
โรงพยาบาลหาดใหญ่ Activating trauma team Head injury guideline
Trauma audit
14
คุณภาพการดูแลผู้บาดเจ็บก่อนส่งต่อ
การดูแลทางเดินหายใจ 94.82% การห้ามเลือด 98.86% การให้สารน้ำ 95.84% การดาม 99.24%
15
ER คุณภาพ จังหวัดสงขลา: ประเมินทุกรพ.
ผ่านคะแนน> 70% ไม่ผ่าน 1.รพ.สงขลา 1.รพช.นาหม่อม 2.รพช.สิงหนคร 2.รพช.จะนะ 3.รพช. บางกล่ำ 3.รพช.เทพา 4.รพช.คลองหอยโข่ง 4.รพช.ปาดัง 5.รพช.ควนเนียง 5.รพ.หาดใหญ่ 6.รพ.สะเดา 6.รพช.ระโนด 7.รพ.สะบ้าย้อย 7.รพช.รัตภูมิ 8.รพ.กระแสสินธุ์ 8.รพช.สทิงพระ 9.รพ.สมเด็จฯนาทวี
16
ขอขอบคุณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.