ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPapon Sawasdipon ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
รายงานความก้าวหน้า ผลการศึกษาภาระโรคและภาระจากปัจจัยเสี่ยง
ผลการศึกษาภาระโรคของประชากรไทยปี พ.ศ. 2547 ผลการศึกษาภาระจากปัจจัยเสี่ยงของประชากรไทย ปี พ.ศ. 2547 ความก้าวหน้าของโครงการพัฒนาค่าถ่วงน้ำหนักความพิการของประเทศไทย
2
ผลการศึกษา ภาระโรคของประชากรไทย ปี พ.ศ. 2547
3
DALY lost by 3 major categories
Males Females Total = 9.9 Million DALYs (Males: 5.7 , Female: 4.2) Group I Infections, maternal, perinatal and nutritional conditions = 2.1 Million DALYs Group II Non-communicable diseases = 6.5 Million DALYs Group III Injuries = 1.3 Million DALYs
4
Profile of DALY loss, Thailand 2004
5
DALY lost by sex and disease category, Thailand 2004
6
DALY lost by disease category
7
Top ten: Deaths % of Total
8
Top ten: YLLs % of Total
9
Top ten: YLDs % of Total
10
Top ten: DALYs % of Total
11
Mortality rate:
12
Total DALYs:
13
DALYs:
14
Demographic 1990 2000 2005 2020
15
DALYs ranks in 1999 and 2004
16
DALYs ranks in 1999 and 2004
17
Change of Ranks: 1999 2004 DALY in Males DALY in Female
Alcohol dependence/harmful use: จากอันดับที่ 11 เป็น 4 Depression: จากอันดับที่ 15 เป็น 10 Homicide and violence: จากอันดับที่ 8 เป็น 15 Suicides: จากอันดับที่ 9 เป็น 16 DALY in Female Ischaemic HD: จากอันดับที่ 9 เป็น 5 Schizophrenia: จากอันดับ 17 เป็น 11
18
ผลการศึกษา ภาระจากปัจจัยเสี่ยงของประชากรไทย ปี พ.ศ. 2547
ผลการศึกษา ภาระจากปัจจัยเสี่ยงของประชากรไทย ปี พ.ศ. 2547
19
ร้อยละของภาระโรคที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงที่ศึกษา เมื่อเปรียบเทียบกับภาระโรครวมทั้งหมด ในปี พ.ศ.2547
ลำดับปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดภาระโรคจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การมีเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย แอลกอฮอล์ บุหรี่ ความดันเลือดสูง การไม่สวมหมวกและคาดเข็มขัดนิรภัย ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน ระดับโคเลสเตอรอลในเลือดสูง การบริโภคผักและผลไม้น้อย การขาดการออกกำลังกาย การใช้สารเสพติด มลพิษทางอากาศ การขาดน้ำสะอาด การสุขาภิบาลและสุขอนามัยที่ไม่เหมาะสม และภาวะทุพโภชนาการ
20
Burden attributable to risk factors, 1999-2004
21
Risk burden in men
22
Risk burden in women
23
ความก้าวหน้า โครงการพัฒนาค่าถ่วงน้ำหนักความพิการของประเทศไทย
24
โครงการพัฒนาค่าถ่วงน้ำหนักความพิการของประเทศไทย มี.ค.2549 – ส.ค.2551
ทบทวนวรรณกรรม Pre-test นครปฐม 6-8 ม.ค. กทม. 25 มี.ค. Sample preparation Filed work อบรบ interviewers field work กทม. -> เม.ย. ภาคใต้ -> พ.ค. ภาคอีสาน -> พ.ค. ภาคเหนือ -> มิ.ย. ภาคกลาง -> ก.ค. สรุปผล Matching Clinical conditions and Health state Systematic review, ประชุมผู้เชี่ยวชาญ 22 กลุ่มโรค, ปรับแก้ค่า DW, ส่งผลการศึกษา ---พ.ศ พ.ศ พ.ศ มี.ค. – ธ.ค. ม.ค.- มี.ค. เม.ย.- มิ.ย. ก.ค.- ก.ย. ต.ค.- ธ.ค. ก.ค.- ส.ค.
25
The EuroQoL Group Set up in 1987 by a multidisciplinary group of researchers concerned with EVALUATION in health and health care Clinicians Health economists Others (sociology, psychology …) Founder members Finland Netherlands (Norway) Sweden UK
26
What is EQ-5D ? Health state A generic, single index
measure of health status Based on 5 dimensions Mobility Self-Care Usual Activity Pain / Discomfort Anxiety / Depression Defines a total of 35 = 243 health states Mobility Self-Care Usual Activity Pain / Discomfort Anxiety / Depression Health state
27
Valuation method(s) EuroQoL Group standard Individual experimentation
Visual analogue scale rating using a vertical 20cm scale Range 0 – 100 corresponding to “worst imaginable” and “best imaginable” health Individual experimentation Time Trade-Off (York MVH Project) Ranking Paired comparisons Standard Gamble
28
VAS rating of EQ-5D health states
Health state E Health state F Health state H VAS rating of EQ-5D health states Health state A Health state C Health state D
30
ตัวอย่าง TTO Board สำหรับสุขภาพที่ดีกว่าเสียชีวิต
ช่อง ก* สุขภาพ ก จำนวนปี ช่อง ข สุขภาพ ข จำนวนปี * ในช่อง ก มีคำว่า “เสียชีวิต” ติดอยู่
31
BOD web site สามารถเปิด web site ด้วย URL คือ หรือ link จาก web site ของ IHPP โดยพิมพ์ เลือก Research Projects > โครงการศึกษาภาระโรคและการบาดเจ็บของประเทศไทย พ.ศ. 2547 ได้มีการปรับปรุงเวปไซต์ใหม่ตั้งแต่เดือนมกราคม 2550 ปรับปรุง layout ของแต่ละหน้าใหม่ หน้าแรกของ web site ได้เพิ่มส่วนการนำเสนอ (presentation) เพื่อให้ผู้เข้าชม web site ได้ดูผลการศึกษาเบื้องต้นทั้งส่วนของภาระโรคและภาระจากปัจจัยเสี่ยง เพิ่มระบบเพื่อให้คณะทำงานฯ สามารถ login เพื่อส่งรายงานต่างๆ แบบ online ได้
32
วาระที่ 3 แผนการดำเนินงานต่อไป ของโครงการพัฒนาการดำเนินการจัดทำเครื่องชี้วัดภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย
33
แผนการดำเนินงานต่อไปของโครงการฯ : ปีที่ 2
Cause of death Violence Cancer Sub-national BOD แผนการดำเนินงานต่อไปของโครงการฯ : ปีที่ 2 Risk burden DW Consultative meeting Seminar on data system (4-5 April07) Data coordination Network Inter. Life Table 2004 YLL 2004 BOD method. improvement Violence :paper writing Data collection Sum. paper on the stand. method Set up a standard protocol and network with regional partners Report risk burden by public health region Report DALY by public health region Report YLL by province, sex and age group HALE HALE Series of consultative meeting with partners Revise with complete BOD Health state valuation study in Thailand Converting disease stages to a generic measure BOD projection Connection with Prof.Paul Kind, Center for Health Economics, University of York Connection with an expert from World Health Organization 2nd Year ( ) Mar Apr May Jun July Aug Sep Not started commencing ongoing complete
34
Discussion on Data Sources
รายการโรคที่ใช้ incidence จากการศึกษา BOD ปี 2542 รายการโรคที่ใช้แหล่งข้อมูลของ incidence จากแหล่งเดียวกับการศึกษาปี 2542 แต่ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันมากขึ้น รายการโรคที่เปลี่ยนแหล่งข้อมูลไปจากเดิมที่ศึกษาในปี 2542
35
แหล่งข้อมูลเหมือนปีการศึกษาในปี 2542
STD Syphilis:ข้อมูลผู้บริจาคเลือดสภากาชาด ปี 2542, Chlamydia: GBD-OAI ปี 2533 HIV/AIDS รายงานการคาดประมาณจำนวนผู้ติดเชื้อของประเทศไทย ปี Hypertension in pregnancy การศึกษาของ ภิเศก ลุมพิกานนท์ (2543) และ รัตนา คำวิลัยศักดิ์ (2541) Abortion การสำรวจภาวะสุขภาพโดยการตรวจร่างกาย ปี Birth trauma & asphyxia การศึกษาของ ภิเศก ลุมพิกานนท์, และ ณรงค์ วณิยกูล และคณะ ปี 2543 Dementia Parkinson's disease การประมาณขององค์การอนามัยโลก (GBD-OAI) ปี 2533 * Glaucoma, Other vision losses การสำรวจภาวะการมองเห็น ปี COPD (emphysema) การสำรวจภาวะสุขภาพโดยการตรวจร่างกาย ปี 2534 Cirrhosis ความชุกของพาหะ HBV ปี 2541 (ยง ภู่วรวรรณและคณะ ปี 2544) Benign prostatic hypertrophy Congenital anomalies Down syndrome การศึกษาของ พรสวรรค์ วสันต์ ปี 2537 *อยู่ระหว่างรอผลการศึกษา
36
แหล่งข้อมูลเดียวกับปี 2542 แต่ update ปีที่ศึกษา
รายการโรค แหล่งข้อมูล การปรับปรุงแหล่งข้อมูล (พ.ศ.) Diarrhoea HWS 2539 2547 EPI-cluster รง.506 2542 Meningitis DRG 2547 Malaria รง.506 และ กองมาลาเรีย Leprosy กองโรคเรื้อน Respiratory infections Maternal (Haemorrhage, Sepsis) กรมอนามัย 2542 2545 Protein-energy malnutrition การสำรวจภาวะโภชนาการและอาหาร 2538 *Cancer รายงานทะเบียนมะเร็ง 2537 Schizophrenia การสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิต 2542 2546 Rheumatic HD, Hypertensive HD 2542 2547 Peptic ulcer disease Appendicitis Nephritis & nephrosis ทะเบียนโรคไต (2543) ,การบริจาคอวัยวะ (2542) และการศึกษา วิชช์ เกษมทรัพย์และคณะ (2543) เปลี่ยนเฉพาะรายงานทะเบียนโรคไต (2546) Back pain Oral conditions การสำรวจภาวะทันตสุขภาพ 2537 2544 Injuries *อยู่ระหว่างรอผลการศึกษา
37
อภิปรายผลข้อมูล YLD Sexually transmitted diseases: ใช้ข้อมูลจากรายงาน 506 ซึ่งยังคงมีข้อจำกัดเรื่อง under-reported Glaucoma and Other Vision Losses: อยู่ระหว่างรอผลจาก National Survey on Blindness and Low vision in Thailand 2006 จึงใช้ค่า prevalence เดิมจากการศึกษา BOD ปี 2542 Dementia: ยังคงประมาณค่า YLD โดยใช้ prevalence เดิมที่ใช้ในการศึกษา BOD เมื่อปี 2542 Parkinson’s Disease: ใช้ข้อมูลจากการศึกษาในต่างประเทศ เนื่องจากยังไม่มีการศึกษาเกี่ยวกับโรคนี้ในประเทศไทย Nephritis and Nephrosis: ใช้ข้อมูลรวมที่ไม่มีการจำแนกตามเพศและอายุ Spina Bifida and Congenital heart Disease: ใช้ข้อมูลจากการศึกษาในต่างประเทศ เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
38
อภิปรายผลข้อมูล YLD Cleft Palate & Lip and Down Syndrome: ใช้ข้อมูลเดิมจากการศึกษา BOD ปี 2542 เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน Cancer: รอผลจากทีมทะเบียนมะเร็ง Otitis media: ใช้ข้อมูลเดิมจากการศึกษา BOD ปี 2542 เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันและการศึกษาในกลุ่มอายุที่มีความเสี่ยงต่อโรคนี้ Epilepsy: ข้อมูลที่ใช้มีข้อจำกัดในเรื่องของ จำนวนประชากรที่น้อยกว่า และทำการศึกษาในหนึ่งจังหวัด ซึ่งอาจไม่เป็นตัวแทนของประชากรทั้งหมดได้ Asthma: ข้อมูลมาจากหลายแหล่งการศึกษา ซึ่งทำการศึกษาในกลุ่มอายุที่แตกต่างกัน Osteoarthritis: ใช้ข้อมูลเดิมจากการศึกษา BOD ปี 2542 เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
39
อภิปรายผลข้อมูล YLD Alcohol dependence /harmful use: ข้อมูลที่ใช้มีตัวเลขที่สูงขึ้นมาก เมื่อเปรียบเทียบกับตัวเลขที่ได้จากการศึกษา BOD ปี 2542 Drug dependence /harmful use: ข้อมูลที่ใช้มีตัวเลขที่ต่ำลง เมื่อเปรียบเทียบกับตัวเลขที่ได้จากการศึกษา BOD ปี 2542 COPD: ใช้ข้อมูลเดิมจากการศึกษา BOD ปี 2542 เนื่องจากแหล่งข้อมูลจากการสำรวจที่เป็นปัจจุบัน (BRFSS) เป็นการสัมภาษณ์ประวัติการเป็นโรคของผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ Hepatitis: ใช้ข้อมูลเดิมจากการศึกษา BOD ปี 2542 แต่ได้ทำการปรับค่าตัวแปรต่างๆให้มีความเป็นปัจจุบันและสอดคล้องกับสถานการณ์ของโรค ดังนั้นข้อมูล YLD ของ Hepatitis นี้จึงมีความน่าเชื่อถือเพียงพอ
40
แผนการดำเนินการศึกษาภาระโรคระดับ sub-national
Sub-national Bangkok + 12 public health area Data sources: NHESIII by public health area Mortality data by province, region 506 report by province, region HWS by region TBRFSS by province IS Bangkok / Non-Bangkok รายงานการสำรวจภาวะอาหารและโภชนาการ ครั้งที่ 5 (พ.ศ.2546) ภาค, เมือง/ชนบท รายงานสถานภาพการใช้สารเสพติด พ.ศ.2546 กทม. + 4 ภาค
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.