ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPhrom-borirak Sivaraksa ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปีงบประมาณ 2551
รายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปีงบประมาณ 2551 ** จำนวน รายงานทั้งหมด ฉบับ ** เกิด ADR จำนวน รายการ ** จากยาที่สงสัย จำนวน ตัวยา ผู้ป่วยส่วนใหญ่ ร้อยละ 64.7 เกิด ADR ที่ไม่ร้ายแรง โดยผลที่เกิด ADR ส่วนใหญ่ ร้อยละ 85.8 หายเป็นปกติโดยไม่มีร่องรอยเดิม
2
Ceftriaxone 28 ราย Cefazolin , amoxy 13 ราย
Ibuprofen 13 ราย Diclofenac 9 ราย
3
รายการยาที่ทำให้เกิดอาการแพ้ยาอย่างรุนแรง
** Toxic Epidermal Necrolysis (Ten) จำนวน 0 ราย ** Stevens Johnson Syndrome จำนวน 12 ราย Phenytoin 2 (prodome = 1 ) Carbamazepine 2 Bactrim 1 (prodome = 1 ) Sulperazone inj. 1 Allopurinal 2 (prodome = 2 ) Videx EC GPO-vir AZT
4
รายการยาที่ทำให้เกิดอาการแพ้ยาอย่างรุนแรง
** Anaphylatic shock จำนวน 6 ราย จากยา augmentin ,cefazolin, cloxacillin, clopidogrel, metronidazole, roxithromycin
5
ผลลัพธ์หลังจากการเกิด อาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
6
สามารถป้องกันการแพ้ยาซ้ำได้ จำนวน 16 ราย
ชื่อผู้ป่วย AN ป้องกันยาที่แพ้ อาการที่เคยแพ้ xxxx Motilium tab Rash Bactrim Clindamycin Angioedema HCTZ paracetamol Mydoclam Ceftriaxone inj Erythematous rash
7
สามารถป้องกันการแพ้ยาซ้ำได้ จำนวน 16 ราย
ชื่อผู้ป่วย AN ป้องกันยาที่แพ้ อาการที่เคยแพ้ xxxx Cloxacillin inj. Rash Augmentin Tramol inj. N/V Ceftriaxone inj. MP rash anaphylaxis Ciprofloxacin rash N/V, dyspnea
8
ระบบการรายงาน ADR
9
แบบรายงาน แบบรายงาน
11
บัตรแพ้ยา Phenobarbital ฟีโนบาร์บิทอล ภก. OOO รพ. XXX
Maculopapular rash ผื่นแดงกระจายทั่วตัว 2 บัตรแพ้ยา
14
อุบัติการณ์การเกิดแพ้ยาซ้ำ
มีจำนวน 5 ราย รายที่ 1 (วันที่ 21 ตค. 50) ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา sulperazone inj. แต่มีการสั่งใช้ยา Ceftriaxone inj. ทำให้ผู้ป่วยเกิดอาการแพ้ยา รายที่ 2 (วันที่ 5 มค.51) ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา Amoxycillin แพทย์ไม่ได้สั่งยาที่แพ้ แต่มีการบริหารยานี้ให้ผู้ป่วยอีกครั้ง ทำให้ผู้ป่วยมีอาการแพ้ซ้ำ
15
อุบัติการณ์การเกิดแพ้ยาซ้ำ
มีจำนวน 5 ราย รายที่ 3 (วันที่ 5 มิย.51) แพทย์สั่งยา Ceftriaxone inj. ที่ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา แล้วพยาบาลให้ยา stock ward ผู้ป่วยไปก่อน ที่จะถูกตรวจสอบได้โดยห้องยา ทำให้ผู้ป่วยแพ้ยาซ้ำ รายที่ 4 (วันที่ 24 กย.51) แพทย์สั่งยา Ceftriaxone inj. ที่ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา แล้วห้องยาจ่ายไป เนื่องจากยังไม่ได้ลงข้อมูลแพ้ยาใน computer แต่ลงข้อมูลใน OPD card แล้ว ผู้ป่วยจึงได้รับยาซ้ำ
16
อุบัติการณ์การเกิดแพ้ยาซ้ำ
มีจำนวน 5 ราย รายที่5 ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา Sulperazone inj. (ตั้งแต่ เมย.51) เกิดอาการ SJS ผู้ป่วยมา admit อีกครั้งเดือน ตค.51 และมีการสั่งใช้ยา Sulperazone inj. อีกครั้ง ผู้ป่วยได้รับมาประมาณ 4 วัน เริ่มมีอาการเจ็บปาก และผื่นคันตามผิวหนัง
17
แนวทางการแก้ไข ให้มีการบ่งบอก / แจ้ง ประวัติการแพ้ยาของผู้ป่วย ในสติ๊กเกอร์สีเหลือง กับในรายการยา (ใบ request) รณรงค์ให้มีการติด สติ๊กเกอร์แพ้ยา ใน chart ผู้ป่วยทุกครั้ง จัดให้มีการตรวจสอบ การลงข้อมูลประวัติแพ้ยาในคอมพิวเตอร์ทุกเดือน จัดระบบการส่งต่อรายงานการแพ้ยา ระหว่างโรงพยาบาล
18
ผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา
19
ผู้ป่วยแพ้ยา ชื่อยา ผู้บันทึก O แพทย์ O เภสัชกร O พยาบาล
20
Thank you for your attentions
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.