ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKasin Punyawong ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม หมายถึง สิ่งที่อยู่รอบ ๆ ตัวเรา มีทั้งสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมทั้งสิ่งมีชีวิตด้วยกันและกับสิ่งไม่มีชีวิต ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต ในการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตจำเป็นต้องอาศัยสิ่งแวดล้อมต่างๆ เพื่อช่วยในการดำรงชีวิต ซึ่งสิ่งแวดล้อมจัดเป็นปัจจัยที่ไม่มีชีวิตสิ่งแวดล้อมที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต ได้แก่ แสง อุณหภูมิ น้ำ ดินและแร่ธาตุในดิน อากาศ
2
ความสัมพันธ์ในการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต ชนิดเดียวกัน (intraspecific relationship)
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ในลักษณะต่างๆ มีดังนี้ ความสัมพันธ์แบบได้ประโยชน์ร่วมกัน ความสัมพันธ์แบบอิงอาศัย ความสัมพันธ์แบบพึ่งพากัน ความสัมพันธ์ระหว่างเหยื่อกับผู้ล่า • ความสัมพันธ์แบบปรสิต
3
ความสัมพันธ์แบบได้ประโยชน์ร่วมกัน (mutualism)
การได้รับประโยชน์ร่วมกัน เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดที่ได้ประโยชน์ด้วยกันทั้งสองชนิด เช่น • แมลงกับดอกไม้ แมลงดูดน้ำหวานจากดอกไม้เป็นอาหาร และดอกไม้ก็มีแมลงช่วยผสมเกสร นกเอี้ยงกับควาย นกกินแมลงบนหลังควาย และควายก็ไม่ถูกแมลงรบกวน
4
ความสัมพันธ์แบบอิงอาศัย (commensalisms)
เป็นปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชากรที่ ฝ่ายหนึ่งได้รับประโยชน์ จากการอาศัยอยู่ร่วมกันแต่อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้ประโยชน์หรือเสียประโยชน์แต่อย่างใด เรียกว่าความสัมพันธ์แบบ “ภาวะอิงอาศัย” เช่น ต้นไม้ในแถบป่าดงดิบจะเป็นที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์อื่น ๆ ลำต้นและกิ่งจะเป็นสถานที่ที่ให้พืชอื่นเกาะอาศัยอยู่ เช่น กล้วยไม้กับต้นไม้ใหญ่ /พลูด่างกับต้นไม้ ปลาฉลามกับเหาฉลาม
5
ความสัมพันธ์แบบพึ่งพากัน (mutualism)
ปูเสฉวนและดอกไม้ทะเล มดอาศัยบนต้นอะเคเซีย
6
ความสัมพันธ์ระหว่างเหยื่อกับผู้ล่า (Predation)
ภาวะล่าเหยื่อ ( Predation : + ,) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตโดยฝ่ายหนึ่งจับอีกฝ่ายหนึ่งเป็นอาหาร เรียกว่า ผู้ล่า (predator) ส่วนฝ่ายที่ถูกจับเป็นอาหารหรือถูกล่า เรียกว่า เหยื่อ ( prey) เช่น -กบกับแมลง :กบเป็นผู้ล่า แมลงเป็นผู้ถูกล่า
7
ความสัมพันธ์แบบปรสิต (parasitism)
สิ่งมีชีวิตหนึ่งได้ประโยชน์ในขณะที่อีกฝ่ายหนึ่งได้รับอันตรายโดยปกติ สิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กกว่าจะได้รับสารอาหารจากโฮสต์ ซึ่งเป็นรูปแบบพิเศษแบบหนึ่งของการล่าเหยื่อ พยาธิตัวตืด โพรโทซัวก่อโรคไข้มาเลเรีย เป็นตัวอย่างของปรสิตภายใน ส่วนปรสิตภายนอก ได้แก่ยุงดูดเลือดของสัตว์เลี้ยงลูก พยาธิตัวตืด กาฝากมะม่วง เหากับคน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.