ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยKrittanoo Sindudeja ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม(ประวัติศาสตร์ ม.4-6)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม(ประวัติศาสตร์ ม.4-6) โดย นายสุนทร พุกสุข
2
มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด ตระหนักถึงความสำคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ
3
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ (Pre – Historic Period) เริ่มราว 500,000 B.C. ตั้งแต่สมัยที่มนุษย์ยังไม่รู้จักประดิษฐ์อักษรขึ้นใช้ แบ่งเป็นยุคหินกับยุคโลหะ สมัยประวัติศาสตร์ (Historic Period) เริ่มราว 3,500 B.C. ตั้งแต่มนุษย์รู้จักคิดประดิษฐ์อักษรขึ้นใช้สำหรับบันทึกหลักฐานเรื่องราวต่างๆ ไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
4
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
ยุคหินแบ่งออกเป็น 3 ยุค คือ ยุคหินเก่า (Old Stone Age) 500,000-10,000 ปี มาแล้ว ยุคหินกลาง (Mesolithic Age) 10,000-6,000 ปี มาแล้ว ยุคหินใหม่ (New Stone Age) 6,000-4,000 ปี มาแล้ว
5
ยุคหินเก่า ยุคหินเก่า เป็นยุคที่มนุษย์รู้จักใช้เครื่องมือหินกะเทาะที่ทำขึ้นหยาบๆ อาศัยตามถ้ำ เพิงผา ดำรงชีพด้วยการล่าสัตว์ มีถิ่นฐานไม่แน่นอน รู้จักงานขีดเขียนภาพศิลปะไว้บนผนังถ้ำ
6
ยุคหินกลาง มนุษย์สมัยหินกลาง การดำรงชีวิตยังเหมือนกับยุคหินเก่า แต่เครื่องมือเครื่องใช้มีความประณีตมากขึ้น และรู้จักทำเครื่องปั้นดินเผาหยาบๆ
7
ยุคหินใหม่ มนุษย์สมัยหินใหม่ มนุษย์ยุคนี้ใช้เครื่องมือหินขัด รู้จักเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ เริ่มตั้งถิ่นฐานเป็นหลักแหล่ง และที่สำคัญคือรู้จักทำเครื่องปั้นดินเผา
8
ยุคเหล็ก (Iron Age) 2,500-1,500 ปี มาแล้ว
ยุคโลหะ ยุคโลหะ (Meltal Age) แบ่งออกเป็น 2 คือ ยุคสำริด (Bronze Age) 4,000-2,500 ปี มาแล้ว ยุคเหล็ก (Iron Age) 2,500-1,500 ปี มาแล้ว
9
ยุคโลหะ ยุคสำริด เป็นยุคที่มนุษย์รู้จักทำเครื่องมือเครื่องใช้และเครื่องประดับด้วนสำริด ซึ่งเป็นโลหะผสมระหว่างทองแดงกับดีบุก ดำรงชีวิตด้วยการเกษตร
10
ยุคเหล็ก เป็นยุคที่มนุษย์รู้จักถลุงเหล็กมาทำ
เครื่องมือเครื่องใช้ และยังดำรงชีพด้วยการเกษตร
11
มนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์
มนุษย์แยกสายวิวัฒนาการจากมนุษย์วานรในทวีปแอฟริการะหว่าง 2,000, ,000 ปี มาแล้ว มีบรรพบุรุษยืนตัวตรงได้ มีความสูงราว 3 ฟุตเศษ มีฟันคล้ายมนุษย์ปัจจุบัน มีสมองเล็ก รูจักทำเครื่องมือหินด้วยวิธีง่ายๆ เพื่อใช้คมในการตัด ฟัน
12
มนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์
“ลูซี่” หรือมนุษย์ดึกดำบรรพ์ของ Australopithecus มีอายุ 2-5 ล้านปี มาแล้ว
13
มนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์
มนุษย์ โฮโมฮาบิลิส (Homo Habilis)
14
มนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์
มนุษย์ นีแอลเดอร์ธัล (Neanderthal Man
15
มนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์
มนุษย์ โครมันยอง (Cro Magnon Man
16
สมัยประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์ เริ่มราว 3,500 B.C. ตั้งแต่มนุษย์รู้จักคิดประดิษฐ์อักษรขึ้นสำหรับบันทึกหลักฐานเรื่องราวต่างๆไว้เป็นลายลักษณ์อักษร
17
สมัยประวัติศาสตร์แบ่งออกเป็น 4 ช่วงเวลา ดังนี้
1. ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ เริ่มประมาณ 3,500 B.C.- ค.ศ. 476 2. ประวัติศาสตร์สมัยกลาง เริ่มปี ค.ศ 3. ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ เริ่ม ค.ศ 4. ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย เริ่ม ค.ศ ปัจจุบัน
18
ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ
ประวัติศาสตร์สมัยโบราณเริ่มตั้งแต่ชาว สุเมเรียนประดิษฐ์อักษรลิ่ม จนถึงการล่ม สลายของจักรวรรดิโรมันตะวันตกใน ปี ค.ศ. 476
19
ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ
สมัยโบราณมีอารยธรรมสำคัญของโลกดังนี้ 1. อารยธรรมเมโสโปเตเมีย 2. อารยธรรมอียิปต์ 3. อารยธรรมจีน 4. อารยธรรมอินเดีย 5. อารยธรรมกรีก 6. อารยธรรมโรมัน
20
ประวัติศาสตร์สมัยกลาง
สมัยกลางมีลักษณะสำคัญ ดังนี้ ด้านสังคม : เกิดระบบลัทธิฟิวดัล (Feudalism) ด้านเศรษฐกิจ : ขึ้นอยู่กับเกษตรกรรม ให้ความสำคัญในที่ดินและแรงงาน ด้านการปกครอง : ขุนนางมีอำนาจบริหารการ ปกครอง ด้านศิลปกรรม : แสดงออกทางด้านศาสนา
21
ประวัติศาสตร์สมัยกลาง
สมัยกลางมีลักษณะทางศิลปะ 3 แบบ ศิลปะแบบไบแซนไทน์ ศิลปะแบบโรมาเนสก์ ศิลปะแบบโกธิค
22
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่เริ่มตั้งแต่ คริสต์ศตวรรษที่ 15 หลังจากกรุง คอนสแตนติโนเปิลแตกจนถึงสิ้นสุด สงครามโลกครั้งที่ 2 ค.ศ. 1945
23
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาการ แบบบารอค แบบนีโอคลาสสิก แบบโรแมนติก แบบสัจนิยม
24
ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย
ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย เริ่มภายหลังสิ้นสุดสงคราโลกครั้งที่ 2 จนถึงปัจจุบัน
25
อ้างอิงภาพ (1) http://wonder7.4t.com/project/pyramid.html
mrewert.pbworks.com id=298414&chapter=35
26
อ้างอิงภาพ (2) http://www.sujitwongthes.com/suvarnabhumi/2011/04/
rajivawijesinha.wordpress.com writer.dek-d.com
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.