งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย นางสาววรรณวนัช โอภาสพันธ์สิน รหัส นางสาวก้องกิดากร วรสาร รหัส

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย นางสาววรรณวนัช โอภาสพันธ์สิน รหัส นางสาวก้องกิดากร วรสาร รหัส"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Probabilistic Asymmetric Cryptosystem ระบบการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงความน่าจะเป็น
โดย นางสาววรรณวนัช โอภาสพันธ์สิน รหัส นางสาวก้องกิดากร วรสาร รหัส อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการ ผศ.พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน อ.ดร. ภัทรวิทย์ พลพินิจ รศ.ดร. วนิดา แก่นอากาศ

2 รายละเอียดการนำเสนอ หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์ของโครงการ
เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ แผนการดำเนินงาน ออกแบบระบบเบื้องต้น ส่วนประกอบของระบบ ปัญหาและอุปสรรค บทสรุป

3 หลักการและเหตุผล ความต้องการด้านความปลอดภัยในการเข้ารหัสและถอดรหัส มีมากขึ้นในปัจจุบัน การเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรในปัจจุบันซึ่งได้แก่ RSA และ Rabin นั้นเป็นการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงกำหนด ดังนั้นถ้า cryptanalysis สามารถทำ Trapdoor Predicate ส่วนหนึ่งได้จะสามารถ Predicate ข้อมูลได้ทั้งหมด การทำให้ข้อมูล (plaintext) อยู่ในรูปพหุนามเชิงเวลา ได้รับการพิสูจน์ใน Yao [1258] ว่าสามารถป้องกัน Trapdoor predicate ได้ การเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงสุ่ม ที่พัฒนาจากการทำให้ข้อมูลอยู่ในรูปพหุนามเชิงเวลา แล้วเข้ารหัสด้วยการเข้ารหัสแบบอสมมาตรเชิงกำหนดสามารถเพิ่มความปลอดภัยให้สูงขึ้นได้

4 วัตถุประสงค์ของโครงการ
ศึกษาการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงกำหนด (Deterministic Public-Key Encryption) ศึกษาทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น (Elementary Number Theory) พีชคณิตเชิงเส้น (Linear Algebra) ทฤษฎีความน่าจะเป็น (Probability Theory) และอัลกอริทึมเกี่ยวข้องกับการออกแบบ พัฒนาอัลกอริทึมสำหรับการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงความน่าจะเป็น (Probabilistic Public-Key Encryption) พัฒนาโปรแกรมสำหรับการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงความน่าจะเป็น ทดสอบและเปรียบเทียบประสิทธิภาพการคำนวณระหว่างการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงกำหนดและการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงความน่าจะเป็น

5 เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ
เป็นการพัฒนาระบบการเข้ารหัสลับแบบอสมการเชิงกำหนด (Asymmetric Deterministic Cryptosystem) บนพื้นฐานของปัญหาการแยกตัวประกอบ (Factoring Problem) ใน RSA .ให้อยู่ในรูประบบการเข้ารหัสลับแบบอสมการเชิงสุ่ม (Asymmetric Random Cryptosystem) บนพื้นฐานของปัญหาของพหุนามเชิงเวลา (Polynomial time) ที่ซึ่งข้อมูลที่ถูกเข้ารหัสยากต่อการวิเคราะห์การเข้ารหัส (Cryptanalysis) ด้วยวิธีทั้งแยกตัวประกอบและการใช้ Trapdoor Predicate ขอบเขตของโครงการ สามารถสร้างระบบการเข้ารหัสลับแบบอสมมาตรเชิงความน่าจะเป็นที่มีความปลอดภัยสูงนำไปใช้งานได้จริง โดยไม่มีข้อผิดพลาดแต่อย่างใด

6 แผนการดำเนินงาน

7 ออกแบบระบบเบื้องต้น

8 ส่วนประกอบของระบบ

9 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง วิทยาการเข้ารหัสลับแบบกุญแจสาธารณะ
อัลกอริทึม RSAกับวิทยาการเข้ารหัสลับแบบกุญแจสาธารณะ THE RSA Cryptosystem ตัวแปลงรหัสแบบกระแส

10 ระบบการเข้ารหัสข้อมูล (Cryptography) สามารถแบ่งตามวิธีการใช้เป็น 2 วิธี ดังนี้
ระบบเข้ารหัสแบบกุญแจสมมาตร (Symmetric-key cryptography) ระบบเข้ารหัสแบบกุญแจอสมมาตร (Asymmetric-key cryptography or Public Key Technology)

11 THE RSA Cryptosystem รักษาความปลอดภัยของ RSA Cryptosystem จะขึ้นอยู่กับฟังก์ชันการเข้ารหัสของ เป็นฟังก์ชันทางเดียวที่จะทำให้อีกฝ่ายสามารถคำนวณเพื่อถอดรหัส ข้อความที่ไม่สามารถอ่านได้ โดยการถอดรหัสข้อความที่ไม่สามารถอ่านได้ จะใช้ความรู้ของตัว เมื่อทราบตัวประกอบนี้จึงทำให้ สามารถคำนวณหาค่า นำไปคำนวณเพื่อหาค่า a โดยใช้ Extend Euclidean Algorithm

12 อัลกอริทึม RSAกับวิทยาการเข้ารหัสลับ แบบกุญแจสาธารณะ

13 ตัวแปลงรหัสแบบกระแส การเข้ารหัสแบบกระแสโดยใช้ตัวสร้างกระแสบิต (Bit-stream Generator) ในการสร้างกระแสเลขโดดฐานสอง (Binary Digits) ที่เรียกว่า กระแสบิตทางด้านวิทยาการรหัสลับ โดยผ่านตัวดำเนินการออร์เฉพาะ (Exclusive-OR, XOR) หรือการบวกแบบมอดูโล 2 (Addition Modulo 2)

14 สิ่งที่จะพัฒนาต่อ พัฒนาออกแบบอัลกอริทึม เขียนโปรแกรม และ ทดสอบประสิทธิผลเชิงเวลาของการแก้รหัสและถอดรหัสลับ ในระบบที่ออกแบบเปรียบเทียบการเข้ารหัสลับแบบ อสมมาตร RSA

15 ปัญหาและอุปสรรค ความซับซ้อนในเชิงคำนวณสูง เอกสารที่เผยแพร่มีไม่มาก

16 บทสรุป การพัฒนาระบบการเข้ารหัสแบบอสมมาตรเชิงความน่าจะเป็น เป็นการนำข้อดีของการเข้ารหัสลับแบบกุญแจสมมาตรและแบบกุญแจอสมมาตรมาใช้ในการพัฒนาระบบ เพื่อเพิ่มความแกร่งให้กับระบบการเข้ารหัส ซึ่งยากต่อการวิเคราะห์ของผู้บุกรุกที่ต้องแก้ปัญหาอย่างหนัก


ดาวน์โหลด ppt โดย นางสาววรรณวนัช โอภาสพันธ์สิน รหัส นางสาวก้องกิดากร วรสาร รหัส

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google