ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ตำแหน่งชำนาญการพิเศษ
ประสบการณ์ ของนักวิจัย ตำแหน่งชำนาญการพิเศษ
2
ตรวจสอบสถานะของตนเอง
- เป็นข้าราชการ หรือ - พนักงานมหาวิทยาลัยตามข้อบังคับใหม่
3
ข้าราชการ ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ ระดับเชี่ยวชาญ ระดับชำนาญการพิเศษ
ระดับปฏิบัติการ ระดับปฏิบัติงาน ตำแหน่งวิชาชีพเฉพาะ/ เชี่ยวชาญเฉพาะ ตำแหน่งประเภททั่วไป
4
พ.มหาวิทยาลัยตามข้อบังคับใหม่
ระดับเชี่ยวชาญพิเศษ (26,000) ระดับเชี่ยวชาญ (19,800) ระดับชำนาญการพิเศษ ระดับชำนาญงานพิเศษ (11,200) ( 7,000) (5,000) (5,000) ระดับชำนาญงาน (ต่ำกว่าป.ตรี) ตำแหน่งวิชาชีพเฉพาะ สนับสนุนวิชาการ สนับสนุนทั่วไป ตำแหน่งสนับสนุนทั่วไป (ช่วยปฏิบัติการ) (ปฏิบัติการ)
5
ประเมินตนเอง ปฏิบัติงานในตำแหน่งอะไร ทำงานมาแล้วกี่ปี ผ่านเกณฑ์ ??
ปฏิบัติงานในตำแหน่งอะไร ทำงานมาแล้วกี่ปี ผ่านเกณฑ์ ?? ตรวจสอบผลงานที่ผ่านมาย้อนหลัง 3 ปี 1.ผลงานวิจัยตีพิมพ์ ?? 2.ผลงานอื่นๆ ??
6
ครั้งที่ 1 ที่เสนอขอตำแหน่งชำนาญการ
ผลงานที่ปฏิบัติ สาขาวิจัย การปฏิบัติงาน ครั้งที่ 1 ที่เสนอขอตำแหน่งชำนาญการ เป็นช่วงจัดตั้งหน่วยวิจัยใหม่ เป็นบุคลากรคนแรกของหน่วย มีการจัดหาอุปกรณ์เครื่องมือวิทยาศาสตร์ สำหรับบริการงานวิจัยแก่คณาจารย์ของคณะฯ ถัดมาเริ่มทำงานวิจัยร่วมกับคณาจารย์ จนมีผลงานร่วมวิจัย 6 ผลงานวิจัย ประเมินตนเองแล้ว คิดว่าสามารถส่งขอตำแหน่งชำนาญการ (ข้าราชการ)
7
เป็นผู้ดำเนินการวิจัยหลัก และมีส่วนร่วมในผลงานวิจัย ไม่ต่ำกว่า 50 %
4.ผลประเมินจากมหาวิทยาลัย ผลงานวิจัยไม่ผ่านเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกำหนดเพราะอะไร ??????? 5.จากนั้นเริ่มทำงานวิจัย ศึกษางานวิจัยที่สนใจอยากทำ ใช้เวลาประมาณ 2-3 ปี ได้ตีพิมพ์ผลงานวิจัยจำนวน 2 เรื่อง ดังนี้ คือ เป็นผู้ดำเนินการวิจัยหลัก และมีส่วนร่วมในผลงานวิจัย ไม่ต่ำกว่า 50 % เป็น Corresponding Author และมีส่วนร่วมในผลงานวิจัย 70 % 6. ครั้งที่ 2 จึงเสนอขอตำแหน่งชำนาญการใหม่ ผ่าน เกณฑ์ที่กำหนด
8
สาขาวิจัย (ผู้ปฏิบัติงานวิจัย, เจ้าหน้าที่วิจัย, นักวิจัย) ข้าราชการ
ประเมินผลงานวิจัย สาขาวิจัย (ผู้ปฏิบัติงานวิจัย, เจ้าหน้าที่วิจัย, นักวิจัย) ข้าราชการ ผลงานวิจัยตีพิมพ์จะต้องเป็นชื่อแรก หรือ เป็นผู้ดำเนินการวิจัยหลัก และมีส่วนร่วมในผลงานวิจัยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 จำนวน 2 เรื่อง ผลงานวิจัยที่เป็นผู้ร่วมวิจัย โดยไม่คิดค่าน้ำหนัก จำนวน 6 เรื่อง
9
พนักงานมหาวิทยาลัย ผลงานวิจัยอย่างน้อย 3 เรื่อง คู่มือปฏิบัติงาน หรือ งานวิเคราะห์ ผลงานวิจัย เป็นชื่อแรก หรือ ผู้ดำเนินการวิจัยหลัก ไม่คิดค่าน้ำหนักของผลงานวิจัย จำนวน 1 เรื่อง ผลงานวิจัยที่เป็นผู้ร่วมวิจัยไม่คิดค่าน้ำหนักของผลงานวิจัย อีก 1 เรื่อง
10
ปัจจัย 3 สิ่งของการพัฒนาตนเองสู่ “ความสำเร็จ”
วิธีคิด : อันดับแรกต้องเริ่มมองดูตัวเอง โดยต้องเริ่มคิดใหม่ ทำใหม่ หาช่องทางใหม่ๆ วิธีพิจารณา : รู้จักพิจารณาและให้ความหมายใหม่ เพื่อดึงประโยชน์ออกมาใช้ การฝึกฝน : ความรู้ทุกอย่างต้องการฝึกฝน ฝึกปฏิบัติ
11
Thank You
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.