ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Spectrofluorimeter และ Spectrophosphorimeter
2
1-chloronaphthalene at 77 K in EPA S0 S1 (p,p*) T1 (p,p*) 6 % Cl
sec-1 6 % 90 kcal/mol 94 % T1 (p,p*) <104 sec-1 59 kcal/mol 46 % sec-1 (cal.) 57 % 1.4 sec-1 1.9 sec-1 S0
3
Absorption A
4
p F Emission: kf ป kisc
5
Spectrofluorimeter Emission Fluorescence spectra Excitation
6
scan ความยาวคลื่นเป็นช่วงกว้าง
Fluorescence Emission spectra Fluorescence Emission spectra ปรับ excitation monochromater ให้แสง ผ่านได้เฉพาะความยาวคลื่นที่ศึกษา ส่วน emission monochromater scan ความยาวคลื่นเป็นช่วงกว้าง เพื่อบันทึกการคายแสง
7
ดีที่สุด เป็นการศึกษาว่า การคายแสงเกิดขึ้น ที่ความยาวคลื่นค่าใด
Fluorescence Emission spectra เป็นการศึกษาว่า การคายแสงเกิดขึ้น ที่ความยาวคลื่นค่าใด ดีที่สุด
8
scan Detector Light source Cell X - Y Recorder Y - drive (intensity)
emission mono- chromater Photo multiplier Cell X - Y Recorder scan Y - drive (intensity) excitation mono- chromater X - Drive (wavelength) Light source
9
Fluorescence Excitation spectra
ปรับ excitation monochromater ให้แสงที่มากระตุ้นมีความยาวคลื่นเป็นช่วงกว้าง ขณะที่ปรับให้แสงที่มีความยาวคลื่นที่เหมาะสมที่สุด(คายแสงมากที่สุด) ผ่าน emission monochromater
10
scan scan Detector Light source Cell X - Y Recorder Y - drive
emission mono- chromater Photo multiplier Cell X - Y Recorder Y - drive (intensity) excitation mono- chromater X - Drive (wavelength) scan scan Light source
11
Fluorescence Excitation spectra
เป็นการศึกษาว่าแสงที่ใช้กระตุ้นโมเลกุลที่ความยาวคลื่นค่าใด ทำให้เกิดการคายแสง ดีที่สุด
12
Fluorescence Spectrum
of Anthracene (dilute solution) Absorption Spectrum of Anthracene เป็นค่าความยาวคลื่นที่ใช้กระตุ้นสาร
13
Spectrophosphorimeter
Emission Phosphorescence spectra Excitation
14
= optical chutter Detector Light source Cell X - Y Recorder Y - drive
emission mono- chromater Photo multiplier Cell X - Y Recorder Y - drive (intensity) excitation mono- chromater X - Drive (wavelength) = optical chutter Light source
15
Optical chutter ทำหน้าที่เป็นตัวตัดแสงที่เข้าไปกระตุ้นระบบเพื่อให้โมเลกุลที่ถูกกระตุ้นไปอยู่ที่สภาวะเร้าเกิดการคายแสง fluorescence จนหมด (tf < 10-6 sec) แล้วจึงวัดการคายแสง phosphorescence (tp< sec)
16
ก๊าซที่มีความดันสูง ๆ)
Mirror symmetry relation พบใน condense phase (เช่น ของแข็ง, ของเหลว หรือ ก๊าซที่มีความดันสูง ๆ)
17
I n t e s i y S1 S0
19
S1 r2 V0 r0 S0
21
triplet state จริงหรือ ?
Triplet State & Phosphorescence -การคายแสง phosphorescence เกี่ยวข้องกับ triplet state จริงหรือ ?
22
จากงานของ Evans ศีกษาคุณสมบัติทางแม่เหล็กในขณะเกิดการคายแสง
(D.F. Evans, Nature, 176, 777 (1955)) ศีกษาคุณสมบัติทางแม่เหล็กในขณะเกิดการคายแสง Phosphorescence ของ Triphynylene ใน Boric acid:
23
ที่ Triplet state เป็น “spin parallel”
(อิเล็กตรอนทั้ง 2 ตัวมีค่า spin quantum number เท่ากัน) โมเลกุลมีคุณสมบัติเป็น “แม่เหล็ก”
24
Intensity of Phosphorescence light on Photomagnetism light off time (s)
25
ยังมีเนื้อหาของโฟโตเคมี ที่ไม่ได้กล่าวถึงบางส่วน
ให้นักศึกษาอ่านเพิ่มเติมด้วย !
26
ขอให้โชคดี ในการสอบทุกคน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.