ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2546
2
เรื่อง...พฤติกรรมการรับประทานผักของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย โดยวิธีการเสริมแรงเชิงบวก
3
ความเป็นมา จากประสบการณ์ในการสอนวิชาสุขศึกษา และการเป็นครูที่ปรึกษา
จากประสบการณ์ในการสอนวิชาสุขศึกษา และการเป็นครูที่ปรึกษา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งได้ดูแลนักเรียนในการรับประทานอาหาร กลางวันของนักเรียนพบว่า นักเรียนหลายคนไม่ชอบรับประทานผัก ดังนั้นเพื่อต้องการให้นักเรียนได้เปลี่ยนพฤติกรรมมารับประทานผัก ผู้วิจัยจึงได้ทำวิจัยเรื่องนี้ขึ้นมา
4
วัตถุประสงค์ในงานวิจัย
เพื่อให้นักเรียนเห็นประโยชน์ของผักและรับประทานผักมากขึ้น เพื่อจะได้สุขภาพและร่างกายที่แข็งแรง
5
สมมติฐาน นักเรียนที่ได้รับความรู้เกี่ยวกับคุณค่าและประโยชน์ของผัก เปลี่ยนพฤติกรรมมารับประทานผักมากขึ้น
6
นักเรียนมีทัศนคติที่ดีในการรับประทานผัก
ผลที่คาดว่าจะได้รับ นักเรียนมีทัศนคติที่ดีในการรับประทานผัก นักเรียนรับประทานผักมากขึ้น
7
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4 จำนวน 49 คน
ขอบเขตการวิจัย กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4 จำนวน 49 คน
8
ตัวแปรอิสระ การเสริมแรงเชิงบวก
9
พฤติกรรมการรับประทานผัก
ตัวแปรตาม พฤติกรรมการรับประทานผัก
10
(ช่วงพักกลางวันของทุกวัน)
ระยะเวลา 4 สัปดาห์ (ช่วงพักกลางวันของทุกวัน)
11
การเสริมแรงทางบวก หมายถึง
การเสริมแรงทางบวก หมายถึง การให้ความรู้เกี่ยวกับผัก,ประโยชน์ของผักและการให้แรงจูงใจ นิยามศัพท์ พฤติกรรมการรับประทานผัก หมายถึง การมีทัศนคติที่ดีในการรับประทานผักของนักเรียน
12
วิธีการดำเนินการวิจัย
ขั้นเตรียม * ศึกษาปัญหาของนักเรียน * เตรียมเอกสาร รูปภาพที่เกี่ยว ข้องกับการวิจัย
13
* นำแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยว ชาญตรวจสอบ
ขั้นสร้าง * สร้างแบบสอบถาม * นำแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยว ชาญตรวจสอบ
14
ขั้นทดลอง 1. นำแบบสอบถามไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย ( ก่อนได้รับความรู้ ), ( เก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1) 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับคุณค่าและประโยชน์ของผักพร้อมกับให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากป้ายนิเทศและทำกิจกรรมที่ครูกำหนดให้ 3. นำแบบสอบถามไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย ( หลังจากได้รับความรู้ ), ( เก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 2 )
15
ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติร้อยละในการวิเคราะห์ข้อมูลโดย ผู้วิจัยได้ให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายทำแบบสอบถาม 2 ครั้ง ( ครั้งที่ 1 ก่อนได้รับความรู้ส่วนครั้ง ที่ 2 หลังจากได้รับความรู้ ) จากนั้นนำข้อมูลมาเปรียบเทียบกัน
16
ตัวอย่าง แบบสอบถามเรื่อง การรับประทานผัก
ตัวอย่าง แบบสอบถามเรื่อง การรับประทานผัก ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย / ให้ตรงกับความเป็นจริงในการรับประทานผักแต่ละชนิดดังต่อไปนี้
17
ตารางเปรียบเทียบการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4
ก่อนได้รับความรู้
18
ก่อนได้รับความรู้
19
แผนภูมิการรับประทานผัก ของนักเรียชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4
แผนภูมิการรับประทานผัก ของนักเรียชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4 ก่อนได้รับความรู้ 36.12 33.26 18.57 12.04
20
ตารางเปรียบเทียบการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4
หลังได้รับความรู้
21
หลังได้รับความรู้
22
แผนภูมิการรับประทานผัก ของนักเรียชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4
แผนภูมิการรับประทานผัก ของนักเรียชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4 หลังได้รับความรู้ 66.33 20.61 9.39 3.67
23
ตารางเปรียบเทียบการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4
24
แผนภูมิพฤติกรรมการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/4
25
* นักเรียนชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 33.26
ผลการวิจัย ก่อนได้รับความรู้ * นักเรียนชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ * ชอบรับประทานผักปานกลางคิดเป็นร้อยละ * ชอบรับประทานผักน้อย คิดเป็นร้อยละ * ชอบรับประทานผักน้อย คิดเป็นร้อยละ
26
* นักเรียนชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 66.33
หลังได้รับความรู้ * นักเรียนชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 66.33 * ชอบรับประทานผักปานกลางคิดเป็นร้อยละ 20.61 * ชอบรับประทานผักน้อยคิดเป็นร้อยละ 9.39 * ไม่ชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 3.67
27
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
…ทำให้นักเรียนเห็นคุณค่าและประโยชน์ของผักและหันมารับประทานผักมากขึ้น... ข้อเสนอแนะ การที่นักเรียนรู้จักและเห็นคุณค่าของการรับประทานผักนั้นหากครูจะเป็นผู้ดูแลแต่เพียงฝ่ายเดียวก็ไม่ประสบผลสำเร็จได้จึงควรที่จะได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองทางบ้านด้วยเพื่อ จะได้ช่วยเสริมแรงกระตุ้นให้นักเรียนเห็นคุณประโยชน์ของ การรับประทานอาหารประเภทผักอีกด้วย
28
ประกาศคุณูปการ งานวิจัยในชั้นเรียนนี้สำเร็จได้ด้วยความกรุณาอย่างสูงจากท่านผู้บริหารโรงเรียน ผู้ช่วยผู้บริการทุกท่าน หัวหน้างานวิชาการระดับประถม และอาจารย์รัชดาวรรณ กระสินธุ์ ที่ได้ให้ความกรุณาให้คำแนะนำช่วยเหลือปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนกระทั่ง ผู้วิจัยสามารถดำเนินงานวิจัยจนสำเร็จไปได้ด้วยดี ผู้วิจัยขอ กราบขอบพระคุณท่านเป็นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี้ คุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.