งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประชาคม ASEAN : จุดเปลี่ยนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประชาคม ASEAN : จุดเปลี่ยนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประชาคม ASEAN : จุดเปลี่ยนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย
ดร.ณรงค์ชัย อัครเศรณี มหาวิทยาลัยขอนแก่น 11 มิถุนายน 2557 ขอนแก่น

2 ประชาคม ASEAN : จุดเปลี่ยนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย
ความเป็นประชาคม ASEAN (AC) ประวัติความเป็นมาของประชาคม ASEAN + GMS AC กับจุดเปลี่ยนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย การเข้าสู่ AC ของประเทศไทย

3 1. ความเป็นประชาคม ASEAN (AC)
1954 จาก SEATO สู่ ASEAN 1997 1995 1967 – SEATO จากการผลักดันโดยสหรัฐ 1997 1999 1967 1967 1967 1967 1984 ก่อตั้ง ASEAN โดยเริ่มจาก 5 ประเทศ แล้วค่อยๆขยายเป็น 10 ประเทศ

4 ภาพรวมโครงสร้างประชาคมอาเซียน
1. ความเป็น AC (ต่อ) ภาพรวมโครงสร้างประชาคมอาเซียน กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) เปรียบเสมือนธรรมนูญของอาเซียน “วิสัยทัศน์เดียว อัตลักษณ์เดียว ประชาคมเดียว” ประชาคมอาเซียน ประชาคมการเมืองและความมั่นคง APSC Blueprint ประชาคมเศรษฐกิจ AEC Blueprint ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม ASCC Blueprint แผนแม่บทว่าด้วยความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน (MPAC) (ด้านกายภาพ ด้านสถาบัน และด้านประชาชน)

5 1. ความเป็น AC (ต่อ) การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน
4 เป้าหมายใน AEC Blueprint เพื่อการเป็นหนึ่งเดียว คือ ASEAN การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน การเป็นภูมิภาคที่มีความ สามารถในการแข่งขันสูง Single Market and Production Base High Competitive Economic Region 1 2 การเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนา ทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน การเป็นภูมิภาคที่บูรณาการเข้า กับเศรษฐกิจโลกได้อย่างสมบูรณ์ Equitable Economic Development Integration into Global Economy 3 4

6 1. ความเป็น AC (ต่อ) สิ่งที่จะเกิดขึ้นใน AEC ตั้งแต่ปี 2015.... สินค้า
ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง ภาษีนำเข้าลดมาตั้งแต่ 1994 ลงเป็นศูนย์ / อุปสรรคนำเข้าระหว่าง ASEAN ด้วยกันหมดไป สินค้า ทำธุรกิจบริการใน ASEAN ได้อย่างเสรีมากขึ้น ธุรกิจบริการ ลงทุนใน ASEAN ได้อย่างเสรี ลงทุน แรงงานมีฝีมือที่มี MRAs เคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีใน ASEAN แรงงาน เคลื่อนย้ายเงินทุนได้อย่างเสรีมากขึ้นใน ASEAN เงินทุน

7 2. ประวัติความเป็นมาของประชาคม ASEAN+GMS
AEC : เป็นหนึ่งในหลายกรอบความร่วมมือของเอเชีย AC in 2015 APEC 2020 FTAAP 2008 ASEAN Charter in effect AKFTA effective Jan 10 2007 CEBU Concord ASEAN Community by 2015 CEPEA/ EAC? AJCEP effective Jun 09 AANZFTA effective Jan 10 1998, AIA ACFTA effective Oct 03 1996, AFAS AIFTA signed Aug 09 Trade in goods effective Jan 10 ABMI – Aug 03 1993, AFTA ASEAN +6 1977, PTA CMI – May 00 SEATO ASEAN -10 ASEAN +3 1999 EAS 2005 ASEAN+6 2010 APEC 1993 ASEM 1995 2003 Proposed EAFTA ASEAN + 8

8 2. ประวัติความเป็นมาของ AC + GMS (ต่อ)
ASEAN – Association of Southeast Asian Nations 1954 SEATO (South east Asia Treaty Organization – US initiative) 1967 ASEAN 5 (อินโดนีเซีย, มาเลเซีย, ฟิลิปปินส์, สิงคโปร์, ไทย) บรูไนเข้าร่วม ในปี 1984 1978 จีนเริ่มใช้ระบบเศรษฐกิจตลาดบางส่วน 1989 สิ้นสุดสงครามเย็น 1991 สหภาพโซเวียต แยกตัว การแผ่ขยายของระบบเศรษฐกิจตลาด + ประชาธิปไตย 1995 อาเซียนเริ่มขยายตัวจาก ASEAN 6 เป็น ASEAN 10 (เวียดนาม, 1995; ลาว, 1997; พม่า, 1997; กัมพูชา, 1999) 2008 มีกฎบัตรอาเซียนที่นำไปสู่การเป็นประชาคม ASEAN (ASEAN Community) 2015 ASEAN Community เศรษฐกิจ Free flow of goods and services + investment and professionals สังคม Social harmony มั่นคง Common security policy 8

9 2. ประวัติความเป็นมาของ AC + GMS (ต่อ)
จาก ASEAN – 6 สู่ ASEAN -10 และผลกระทบต่อประเทศไทย ประเทศไทยใกล้ชิดกับ CLMV มากกว่า ภูมิศาสตร์ เป็นแผ่นดินใหญ่ด้วยกัน วัฒนธรรม รับอิทธิพลจากอินเดียและจีนใกล้เคียงกัน ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจ / การเมือง ทำให้ห่างกัน เวียดนาม ลาว เขมร เป็นเมืองขึ้นฝรั่งเศส (1850 – สงครามอินโดจีน – 1954) พม่าเป็นเมืองขึ้นอังกฤษ (( ) – 1948)) สงครามเวียดนาม 1955 – 1975 สงครามเย็น ทุนนิยม VS สังคมนิยม (คอมมิวนิสต์) 1964 – 1989 CLMV มีธุรกิจกับนานาชาติน้อยจนสงครามเย็นยุติ CLMV เริ่มเปลี่ยนเป็นเศรษฐกิจระบบตลาด ตั้งแต่ จึงเริ่มเข้าเป็น สมาชิก ASEAN เมื่อรวม Yunnan กับ Guangxi กลุ่มนี้เป็น GMS เริ่ม 1992

10 2. ประวัติความเป็นมาของ AC + GMS (ต่อ)
GMS -- Greater Mekong Subregion (1992) กัมพูชา, ลาว, พม่า, เวียดนาม, ไทย, ยูนนาน + กวางสี - จีน CLMV ความร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจโดยใช้แนวทาง ของเศรษฐกิจระบบตลาด --- มี 9 สาขา คมนาคมขนส่ง โทรคมนาคม พลังงาน การค้า การลงทุน การเกษตร สิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงในพม่าตั้งแต่ปี 2010 ช่วยเร่งการ รวมตัวใน GMS (และ ASEAN) มุ่งเน้นการเชื่อมโยง (Connectivity) เป็นกลยุทธ์หลัก The 3rd Thai-Lao Bridge, opened on 11/11/2011

11 3. AC กับจุดเปลี่ยนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย
ASEAN 10 จัดได้เป็น Mainland ASEAN – C L M V T Maritime ASEAN – B I Ma Ph S ไทยเป็นศูนย์กลางของ Mainland ASEAN / GMS ภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ / สังคมของไทย เปลี่ยนแปลง ประเทศไทยเป็นภาคกลางของ ASEAN ภาคอีสาน / ภาคเหนือของไทย เป็นภาคกลางของ GMS ใกล้ชิดกับ CLMV และจีนตอนใต้มากขึ้น ภาคใต้ตอนล่างของไทย เป็นภาคเหนือของมาเลเซีย รับผลกระทบของเศรษฐกิจ สังคมมาเลเซีย (มุสลิม)

12 3. AC กับจุดเปลี่ยน (ต่อ)
เกิดการขยายตัวของเมือง (Urbanization) ใกล้ชายแดน ห่างไกล กทม.อย่าง รวดเร็ว เกิดการเคลื่อนย้ายประชากร (migration) ที่สร้างโอกาสและปัญหา เกิดการพัฒนาและปัญหาเศรษฐกิจ / สังคม เหมือน / คล้ายกันทั่วประเทศไทย การทำงาน / อยู่อาศัย / จราจร การศึกษา / สาธารณสุข สิ่งแวดล้อม / ขยะ อาชญากรรม / ยาเสพย์ติด ฯลฯ ฯลฯ ... จาก หนึ่งสัญชาติ / น้อยเชื้อชาติ เป็นสิบสัญชาติ / มากเชื้อชาติ ประชากร จาก 65 ล้านคน เป็นกว่า 600 ล้านคน GDP จาก US$ 400 B เป็น US$ 2400 B (ปี 2013) การเมือง จากมีพรมแดน (Bordered) เป็นไร้ / น้อยพรมแดน (Borderless, Less Border)

13 3. AC กับจุดเปลี่ยน (ต่อ)
ความสามารถทางการแข่งขัน (Competitiveness) ความสามารถทางการแบ่งปัน (Compassionateness) ส่วนที่เป็น ASEAN แผ่นดินใหญ่ (Mainland) ไทยต้องให้ความสำคัญต่อการแบ่งปันมากกว่าการแข่งขัน ส่วนที่เป็น ASEAN ทางทะเล (Maritime) ไทยต้องให้ความสำคัญต่อการแข่งขันมากกว่าการแบ่งปัน

14 3. AC กับจุดเปลี่ยน (ต่อ)
ภาคอีสาน / ภาคเหนือ เชื่อมโยงกับ ASEAN แผ่นดินใหญ่ (CLMV) ต้องมีบทบาทต่อการแบ่งปันมากกว่าแข่งขัน ต้องให้ความสำคัญต่อภาคสังคม มากกว่าหรือไม่น้อยกว่าภาค เศรษฐกิจ ภาคกลาง ต้องมีบทบาทในการสร้างความสามารถทางการแข่งขันของ ประเทศ พัฒนาอุตสาหกรรมและภาคบริการ โดยมี ASEAN เป็น เครือข่าย เป็นฐาน ฯลฯ

15 3. AC กับจุดเปลี่ยน (ต่อ)
ลำดับความสำคัญของภาควิชาการ กลุ่มภาควิชา การศึกษา มนุษยศาสตร์ / สังคมศาสตร์ ศิลปกรรม / สถาปัตยกรรม และสิ่งแวดล้อม กลุ่มภาควิชา การแพทย์และพยาบาล / สาธารณสุข เภสัชกรรม กลุ่มภาควิชา การเกษตร เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ และบริหารจัดการ กิจกรรมเพื่อส่งเสริมบทบาท การเรียนการสอน เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจใน ASEAN เน้นประเทศ CLMV + ให้ ทุนการศึกษา การขยายขอบข่ายบริการทางการแพทย์ และสาธารณสุข งานวิจัยที่มีมิติทางพื้นที่ (Area Study) ใน CLMVT+ โดยมีการร่วมงานกับนักวิจัยใน และนอกพื้นที่ งานให้คำปรึกษาและร่วมพัฒนาพื้นที่ (Area / Community Development) ทั้งมิติ ทางสังคมและเศรษฐกิจ งานพิทักษ์สิ่งแวดล้อม

16 4. การเข้าสู่ AC ของประเทศไทย
สร้างความร่วมมือแบบหุ้นส่วนการพัฒนา เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตร์สามวงเศรษฐกิจ 1 2 3 Sub-regional (GMS, IMT-GT, ACMECS, BIMSTEC) ASEAN Asia Pacific ASEAN+3 ASEAN+6 ~APEC For Expanded Economic Bases For Better Resources Allocation For Global Participation ความร่วมมือกับ GMS การเตรียมความพร้อมเรื่อง NTBs / NTMs AFAS MRA การเผยแพร่ความรู้ / ความเข้าใจเรื่อง ASEAN

17 4. การเข้าสู่ AC ของประเทศไทย (ต่อ)
ความเชื่อมโยง ความสามารถในการรองรับ กฎ ระเบียบการขนส่งสินค้า/ผู้โดยสาร ทักษะภาษาอังกฤษ ทักษะฝีมือแรงงาน / ผู้ประกอบการ มาตรฐานฝีมือ หลักสูตรการศึกษา เครือข่ายความร่วมมือกับประเทศสมาชิก 3. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ โลจิสติกส์ 4. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. การพัฒนากฎหมาย กฎ และระเบียบ 6. การ สร้างความรู้ ความเข้าใจและ ความตระหนัก ถึงการเป็นประชาคมอาเซียน 7. การเสริมสร้างความมั่นคง 8. การเพิ่มศักยภาพของเมืองเพื่อเชื่อมโยงโอกาสจากอาเซียน 1. การเสริม สร้างความสามารถในการแข่งขัน ของสินค้า บริการ การค้า และ การลงทุน 2.การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการ คุ้มครอง ทางสังคม การคุ้มครองแรงงาน สวัสดิการสังคม สภาพแวดล้อม วิสัยทัศน์ ประเทศไทยเป็นสมาชิกที่เข้มแข็ง และสนับสนุนคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชนอาเซียนร่วมกัน พันธกรณี อำนวยความสะดวกการค้า การลงทุน ปกป้องผลประโยชน์ของประเทศ ศักยภาพภาคการผลิต มาตรฐานสินค้าและบริการ ตลาดและฐานการผลิตเดียว ตระหนักรู้ทุกกลุ่มทุกวัย องค์ความรู้อาเซียน วัฒนธรรมระหว่างประเทศสมาชิก เมืองหลวง เมืองอุตสาหกรรม เมืองท่องเที่ยวบริการ เมืองการค้าชายแดน ความร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อนำไปสู่ภูมิภาคที่มีบรรทัดฐาน เอกภาพ และสันติภาพร่วมกัน ยุทธศาสตร์การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558


ดาวน์โหลด ppt ประชาคม ASEAN : จุดเปลี่ยนการพัฒนาเศรษฐกิจสังคมไทย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google