ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551
นายสหัส ตรีทิพยบุตร รองกรรมการผู้จัดการ บมจ. ธนาคารกรุงไทย พระราชบัญญัติ สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 21 สิงหาคม 2551 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)
2
สถาบันคุ้มครองเงินฝาก
พระราชบัญญัติ สถาบันคุ้มครองเงินฝาก 11 สิงหาคม 2551 ผู้ฝากเงิน - คุ้มครองเงินฝากประชาชน สถาบันการเงิน - เสริมสร้างความมั่นคงและเสถียรภาพ - ชำระบัญชีสถาบันการเงินที่ถูกเพิกถอน
3
พรบ.นี้ในต่างประเทศ และผลกระทบ
เริ่มในสหรัฐ 75 ปีแล้ว ปัจจุบันมี 99 ประเทศ อีก 20 ประเทศที่กำลังศึกษา
4
จำนวนเงินที่คุ้มครอง
คุ้มครองเงินฝากประชาชน จำนวนเงินที่คุ้มครอง : คุ้มครองต่อรายต่อสถาบัน ปีที่ ระยะเวลา จำนวนเงินที่คุ้มครอง 1 11 สค สค.52 เต็มวงเงิน 2 11 สค สค.53 100 ล้านบาท 3 11 สค สค.54 50 ล้านบาท 4 11 สค สค.55 10 ล้านบาท 5 11 สค.55 เป็นต้นไป 1 ล้านบาท
5
บทวิเคราะห์ กระตุ้นให้ประชาชนผู้ที่มีเงินฝาก เลือกฝากเงินกับธนาคาร
ที่มีผลประกอบการ และราคาหุ้นดี เลือกลงทุนกับสถาบันการเงิน ที่มีผลประกอบการ และบริหารการเงินที่ดี เลือกลงทุนกับผลิตภัณฑ์ทางการเงิน ที่ให้ผลตอบแทนดีและเหมาะสมดี
6
บทวิเคราะห์ สถาบันทางการเงินทุกขนาดทุกประเภท (ธนาคาร
และบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน) ต้องออกผลิตภัณฑ์ทางการเงินเพื่อรักษาลูกค้าเดิม และดึงดูดลูกค้าใหม่ สถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ ซึ่งรัฐบาลถือหุ้น 100% ไม่ได้อยู่ภายใต้ พรบ. ฉบับนี้
7
ตัวแปรในการพิจารณาเพื่อการออมและการลงทุน
สถาบันการเงิน ที่มั่นคง ผลประกอบการดี ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน หลากหลาย การให้บริการลูกค้าดี ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน อัตราผลตอบแทน (ดอกเบี้ยรับ) ภาษีหัก ณ ที่จ่าย การลดหย่อนภาษี อัตราความเสี่ยง
8
ชนิดของผลิตภัณฑ์ และสถาบันการเงิน
ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน ธนาคาร (KTB) เงินฝากออมทรัพย์/ประจำ/BE/หุ้นกู้ บมจ. หลักทรัพย์จัดการกองทุนกรุงไทย (KTAM) หน่วยลงทุน กองทุนรวม บริษัทประกันชีวิต (KAL) ประกันชีวิต - คุ้มครองชีวิต - ลงทุนในระยะยาว บริษัทหลักทรัพย์ (KTBS) ลงทุนในหุ้นตลาดหลักทรัพย์
9
รายได้ต่ำกว่า 150,000 บาท ไม่ต้องเสียภาษี ทำไมต้องเป็น “กรุงไทย”
ตัวอย่างการวิเคราะห์การลงทุนในธนาคาร ตัวแปร ออมทรัพย์ ประจำ (เดือน) ณ. 22 ก.ค. 51 อัตราผลตอบแทน 3 6 12 24 ภาษีหัก ณ ที่จ่าย 15 % ลดหย่อนภาษี รายได้ต่ำกว่า 150,000 บาท ไม่ต้องเสียภาษี หักค่าลดหย่อน 60,000 บาท อัตราเสี่ยง วิเคราะห์ - ระยะเวลาการฝาก - ความมั่นคงของธนาคาร สถาบันการเงิน ทำไมต้องเป็น “กรุงไทย”
10
พรบ.นี้ในต่างประเทศและผล (สรุป)
คุ้มครอง (บาท) สัดส่วนของธนาคาร การลงทุน (ใน) ใหญ่ กลาง เล็ก หุ้น กองทุน ประกันชีวิต เงินฝาก มาเลเซีย 650,000 61>63% ลดลง เพิ่มขึ้น เพิ่มขี้น อินโดนีเซีย 400,000 (มี ธ.เดียว)
11
แนวทางการลงทุนของผู้ฝากเงิน (สรุป)
ปีที่ 1 ศึกษาข้อมูลการลงทุน ปีที่ 2 ศึกษาข้อมูลการลงทุน ครึ่งปีหลังกระจายเงินฝาก พันธบัตรและกองทุนรวม ปีที่ 3 ศึกษาเปรียบเทียบลงทุน พันธบัตร กองทุนรวม ประกันชีวิต หุ้นตลาดหลักทรัพย์ หรือกระจายเงินฝาก
12
แนวทางการลงทุนของผู้ฝากเงิน (สรุป)
ปีที่ 4 ปรับแผนการลงทุนทุก 6 เดือน พันธบัตร กองทุนรวม ประกันชีวิต หุ้นตลาดหลักทรัพย์ หรือกระจายเงินฝาก ปีที่ 5 ปรับแผนการลงทุนทุก 6 เดือน พันธบัตร กองทุนรวม ประกันชีวิต หุ้นตลาดหลักทรัพย์ หรือกระจายเงินฝาก หรืออสังหาริมทรัพย์ และทองคำ
13
WEALTH MANAGEMENT
14
Q & A
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.