งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ

2 โครงการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
วัตถุประสงค์ : พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อยกระดับไปสู่รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ การแบ่งปันวิธีการปฏิบัติ ที่เป็นเลิศ (Best Practice Sharing) วงจรคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ได้รับรางวัล และ/หรือได้รับการประกาศเกียรติคุณ รางวัล PMQA YES ภาคสมัครใจ รางวัล PMQC สมัครเข้ารับรางวัล PMQA รางวัล PMQA รายหมวด NO ได้รับรายงานป้อนกลับ ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ การส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ส่งเสริมรางวัล PMQA อบรมเครือข่าย Hub / หมอองค์กร Certified FL อบรมผู้ตรวจ Certified FL ส่งเสริมให้หน่วยงานพัฒนาองค์การ เผยแพร่ Best Practice ติดตามประเมินผลและมอบรางวัล 55 56 57 58

3 เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ เข้าสู่การสมัครขอรับรางวัล PMQA รางวัลคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐรายหมวด พัฒนาสู่ความโดดเด่นรายหมวด เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับก้าวหน้า (Progressive Level) 100 ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ 90 80 70 60 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) 50 40 30 20 10 ร้อยละของการ ผ่านเกณฑ์ หมวด 1 หมวด 2 หมวด 3 หมวด 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด 7 3

4 แนวทางการดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
แนวทางการส่งเสริมการพัฒนาองค์การ ภาคบังคับ ระบบ GES การพัฒนาองค์การ : มิติภายใน กำหนดเป็น KPI ตามเกณฑ์ PMQA (Full Version) เกณฑ์ Fundamental Level ปีละ 2 หมวด ดำเนินการครบถ้วนในปี 54 55 56 57 …… ปี 52 53 54 ภาคสมัครใจ รางวัล PMQA การส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)

5 Human Capital เส้นทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
รางวัลคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐรายหมวด Strategic Readiness Organization Capital PMQA : The Journey to Excellence GES : Continuous Improvement Information Capital Human Capital ผ่านการรับรองเกณฑ์ฯ

6 การจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัดของหน่วยงานประเมินผล
มิติภายใน : การประเมินผลด้านการพัฒนาองค์การ

7 กรอบการประเมินผลของส่วนราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
การประเมินประสิทธิผล (ร้อยละ 60) ระดับความสำเร็จในการบรรลุเป้าหมาย ระดับกระทรวง กลุ่มภารกิจ (ถ้ามี) กรม การประเมินคุณภาพ (ร้อยละ10) ร้อยละของระดับความพึงพอใจของ ผู้รับบริการต่อกระบวนการให้บริการ ผู้กำหนดนโยบาย มิติภายนอก มิติภายนอก (ร้อยละ70 ) การประเมินประสิทธิภาพ (ร้อยละ15) ต้นทุนต่อหน่วย สัดส่วนค่าใช้จ่ายจริงต่อค่าใช้จ่ายตามแผน ปริมาณผลผลิตที่ทำได้จริงเปรียบเทียบกับแผน มิติภายใน (ร้อยละ30 ) การพัฒนาองค์การ (ร้อยละ15) ขีดสมรรถนะของการบริหารจัดการ - ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ปรับปรุงสารสนเทศ ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ มิติภายใน

8 กรอบตัวชี้วัดมิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ

9 GES ด้านการพัฒนาองค์การ
KPI 1 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร ประเด็นการประเมินผล ทุนมนุษย์ - การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (HRD) - การบริหารทรัพยากรมนุษย์ (HRM) KPI 2 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ ทุนสารสนเทศ - ความพึงพอใจของผู้ใช้สารสนเทศ - ประสิทธิภาพของระบบ สารสนเทศ KPI 3 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ ทุนองค์การ - วัฒนธรรม - ผู้นำ - การอุทิศตนและความมุ่งมั่น ในการทำงาน - การทำงานเป็นทีม - การจัดการความรู้ Human Capital Information Capital Organization Capital 9

10 แนวทางการดำเนินการตามตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การ
KPI 2.2 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาขีดสมรรถนะการบริหารจัดการ น้ำหนัก : ร้อยละ 15 แบ่งออกเป็น 3 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ KPI : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากร KPI : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ KPI2.2.3 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ เปรียบเทียบผลก่อน-หลัง ส่วนราชการสรุปผลค่าคะแนนเฉลี่ยของ ผลการปฏิบัติงานในภาพรวมของส่วนราชการ (ค่าคะแนนการประเมินผลสมรรถนะประจำปี รอบที่ 1 (ก.ย. 54) ส่วนราชการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร เพื่อให้ ผลการปฏิบัติงานในภาพรวมสูงขึ้น ส่วนราชการสรุปผลค่าคะแนนเฉลี่ยของ ผลการปฏิบัติงานในภาพรวมของส่วนราชการ (ค่าคะแนนการประเมินผลสมรรถนะประจำปี รอบที่ 2 (ก.ย. 55) เทียบระดับการผลการประเมินกับเกณฑ์การให้ คะแนนที่กำหนด เพื่อสรุปค่าคะแนนของตัวชี้วัด เปรียบเทียบผลก่อน-หลัง เปรียบเทียบผลก่อน-หลัง ส่วนราชการสำรวจ Organization Climate Survey จากบุคลากร (ข้าราชการ) ทั่วทั้งองค์กร 2. ส.ก.พ.ร. ประมวลผลคะแนน การสำรวจความพึงพอใจของ ผู้ใช้งานสารสนเทศ 1. ส่วนราชการสำรวจ Information Capital Survey จากบุคลากร (ข้าราชการ) ทั่วทั้งองค์กร 2. ส.ก.พ.ร. ประมวลผลคะแนน ประเมินผลตาม Checklist รอบ 12 เดือน เปรียบเทียบระดับสมรรถนะก่อน-หลัง การประเมินจากข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 1. ส่วนราชการพัฒนาระบบสารสนเทศขององค์กร 2. ผู้ตรวจตรวจประเมินตาม checklist IT และประมวลผลคะแนน 10 10

11 แนวทางการดำเนินการตามตัวชี้วัดการพัฒนาองค์การ
KPI 2.2 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาขีดสมรรถนะการบริหารจัดการ น้ำหนัก : ร้อยละ 15 แบ่งออกเป็น 3 ตัวชี้วัดย่อย ดังนี้ 11

12 แนวทางการดำเนินการ KPI : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร After Before 6. สำนักงาน ก.พ.ร. ประมวลผลคะแนนตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร ส่วนราชการประเมินผลการปฏิบัติงาน (ผลสัมฤทธิ์ของงานและสมรรถนะ ตามแนวทางของ ก.พ.) ของบุคลากรในภาพรวม 5. ส่วนราชการส่งผลประเมินให้สำนักงาน ก.พ.ร. 2. ส่วนราชการส่งผลประเมินให้สำนักงาน ก.พ.ร. 4. ส่วนราชการประเมินผลการปฏิบัติงานฯ ของ บุคลากรในภาพรวม 3. ส่วนราชการดำเนินการพัฒนาบุคลากร ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. ประเมิน สมรรถนะของบุคลากรของส่วนราชการ ตามแนวทางของ ก.พ.

13 เกณฑ์การให้คะแนน KPI 2.2.1 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร
กรณีที่ 1 : ผลการประเมินสมรรถนะรอบที่ มากกว่าหรือเท่ากับ คะแนน กรณีที่ 2 : ผลการประเมินสมรรถนะรอบที่ น้อยกว่า คะแนน ระดับคะแนน สูตรการคำนวณ 1 X2 ≤ 60 2 3 X2 = X1 4 5 X2 ≥ 91 ระดับคะแนน สูตรการคำนวณ 1 X2 ≤ 60 2 3 4 5 X2 ≥ X1 หมายเหตุ : X1 คือ ค่าเฉลี่ยผลการประเมินสมรรถนะบุคลากรขององค์กรประจำปี รอบที่ 1 (เดือนกันยายน 2554) X2 คือ ค่าเฉลี่ยผลการประเมินสมรรถนะบุคลากรขององค์กรประจำปี รอบที่ 2 (เดือนกันยายน 2555)

14 แบบฟอร์มรายงานผลการประเมินสมรรถนะของบุคลากร
แบบรายงานผลการประเมิน ครั้งที่ 1 : 1 เมษายน – กันยายน 2554 ครั้งที่ 2 : 1 เมษายน – กันยายน 2555 ชื่อหน่วยงาน : กระทรวง : ค่าคะแนนเฉลี่ยสมรรถนะของบุคลากร (เต็ม 100 คะแนน) จำนวนข้าราชการ (คน) ณ วันที่ ประเมินผล ผู้รายงาน ตำแหน่งของผู้รายงาน วันที่รายงาน หัวหน้าส่วนราชการลงนาม หมายเหตุ โปรดส่งแบบฟอร์มรายงานผลการประเมินไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ครั้งที่ 1 ภายในวันที่ 31 มกราคม 2555 ครั้งที่ 2 ภายในวันที่ 31 มกราคม 2556

15 แนวทางการดำเนินการ KPI : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ After Before ผลการประเมิน การพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ สำรวจสถานะการบริหารจัดการองค์การ (Survey Online) สำนักงาน ก.พ.ร. ประมวลผล สำรวจสถานะการบริหารจัดการองค์การ (Survey Online) (น้ำหนักร้อยละ 50) ผู้ตรวจประเมินประสิทธิภาพระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (น้ำหนักร้อยละ 50) สำนักงาน ก.พ.ร. ประมวลผล แจ้งผลสถานะการบริหารจัดการองค์การ ส่วนราชการดำเนินการพัฒนาระบบสารสนเทศ ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค.

16 ตัวอย่าง Information Capital Survey
ภาคผนวก (KPI 2) ตัวอย่าง Information Capital Survey 16

17 การประเมินประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ตัวอย่าง Checklist การประเมินประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ภาคผนวก (KPI 2) 17

18 เกณฑ์การให้คะแนน KPI : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ การให้คะแนน จะประเมินจากความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ (จะรวมอยู่ในแบบสำรวจ Organization Development Survey) รอบที่ 2 โดยการเปรียบเทียบส่วนต่างระหว่างปัจจัยด้านระดับความสำคัญและความเห็นของบุคลากรภายในองค์กร และนำมาหาค่าเฉลี่ยของส่วนต่างระหว่างปัจจัยดังกล่าวตามสูตรการคำนวณดังนี้ X = ค่าระดับความเห็นของแต่ละข้อคำถาม Y = ค่าระดับความสำคัญของแต่ละข้อคำถาม i = ลำดับที่ของข้อคำถามที่กำหนดขึ้น

19 ส่วนราชการดำเนินการพัฒนาองค์การ
แนวทางการดำเนินการ KPI : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ After ผลการสำรวจสถานะการบริหารจัดการองค์การ (ด้านการพัฒนาองค์การ) Before สำรวจสถานะการบริหารจัดการองค์การ (Survey Online) สำนักงาน ก.พ.ร. ประมวลผล สำนักงาน ก.พ.ร. ประมวลผล แจ้งผลสถานะการบริหารจัดการองค์การ สำรวจสถานะการบริหารจัดการองค์การ (Survey Online) ส่วนราชการดำเนินการพัฒนาองค์การ ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค.

20 ตัวอย่าง Organization Climate Survey

21 ตัวอย่าง Organization Climate Survey (ต่อ)
21

22  หลักการคิดกลุ่มตัวอย่าง
ผู้ตอบแบบสำรวจ Organization Development Survey หมายเหตุ : จำนวนบุคลากรจากรายงานลักษณะสำคัญองค์กรของส่วนราชการ ณ กันยายน 2553 จำนวนกลุ่มตัวอย่างใช้สูตร Yamane คือ n = N เมื่อ n = ขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ 1+Ne² N = ขนาดของประชากร e = ความคลาดเคลื่อนของการสุ่มตัวอย่างที่ยอมรับได้ (ใช้ที่ระดับความเชื่อมั่น 95%) จำนวนบุคลากรทั้งหมด (คน) จำนวนกลุ่มตัวอย่าง (คน) <500 222 1,000 – 10,000 10,001 – 100,000 400

23 เกณฑ์การให้คะแนน ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 ≥ 2.40 2 1.81-2.40 3
KPI : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ การให้คะแนน จะประเมินจากแบบประเมินบรรยากาศภายในองค์การ (Organization Climate Survey) รอบที่ 2 โดยการเปรียบเทียบส่วนต่างระหว่างปัจจัยด้านระดับความสำคัญและความเห็นของบุคลากรภายในองค์กร และนำมาหาค่าเฉลี่ยของส่วนต่างระหว่างปัจจัยดังกล่าวตามสูตรการคำนวณดังนี้ X = ค่าระดับความเห็นของแต่ละข้อคำถาม Y = ค่าระดับความสำคัญของแต่ละข้อคำถาม i = ลำดับที่ของข้อคำถามที่กำหนดขึ้น ระดับคะแนน เกณฑ์การให้คะแนน 1 ≥ 2.40 2 3 4 5 ≤ 0.60

24 กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ
ปฏิทินในการดำเนินงานตามตัวชี้วัดมิติภายใน ด้านการพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 กิจกรรม ระยะเวลาดำเนินการ 1. ทดลองระบบ Survey Online 27 ก.ย. 54 – 4 ต.ค. 54 2. ประเมินสมรรถนะของบุคลากร รอบที่ 1 ก.ย. 54 (ส่งแบบฟอร์มประเมินผล ให้ ส.ก.พ.ร. ภายใน 31 ม.ค. 55) 3. บุคลากรของส่วนราชการตอบ Organization Development Survey ผ่านระบบ online รอบที่ 1 15-30 พ.ย. 54 4. ส.ก.พ.ร. ประมวลและส่งผล Organization Development Survey ให้ส่วนราชการ เพื่อจัดทำแนวทางการพัฒนาองค์การ 1-15 ธ.ค. 54 5. ส่วนราชการพัฒนาองค์การ เพื่อปิด Gap รวมถึงการพัฒนาสมรรถนะบุคลากร และระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพ 16 ธ.ค. 54 – 30 ก.ย. 55 6. ประเมินสมรรถนะของบุคลากร รอบที่ 2 ก.ย. 55 (ส่งแบบฟอร์มประเมินผล ให้ ส.ก.พ.ร. ภายใน 31 ม.ค. 56) 7. บุคลากรของส่วนราชการตอบ Organization Development Survey ผ่านระบบ online รอบที่ 2 15-30 พ.ย. 55 8. ผู้ตรวจประเมินเข้าตรวจข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 15 พ.ย. 55 – 30 ธ.ค. 55 9. ส.ก.พ.ร. ประมวลสรุปผล และแจ้งผลคะแนนตัวชี้วัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาขีดสมรรถนะของการบริหารจัดการ 15 ก.พ. 56

25 ปฏิทินในการดำเนินงานตามตัวชี้วัดมิติภายใน ด้านการพัฒนาองค์การ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

26 Q & A


ดาวน์โหลด ppt GES : มิติภายในด้านการพัฒนาองค์การ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google