ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยDaeng Kriangsak ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
2
ให้ผู้บริหารโรงเรียน ทุกโรงเรียนได้ ป้องกันขนย้ายสิ่งของที่ อยู่ชั้นล่างเอาไปไว้ ในที่สูง ๒. จัดหากระสอบ และ ทรายเพื่อทำคัน ป้องกันเบื้องต้น
3
๓. ประสานงานกับเขต ปกครองเพื่อขอความ ช่วยเหลือในด้านต่างๆเช่น เครื่องสูบน้ำ หรือ อื่นๆ ๔. จัดผู้รับผิดชอบโดยตรง ประจำโรงเรียนเพื่อจะได้ รายงานข้อมูลให้ประธาน กลุ่มทราบทุกวัน เพื่อ ประธานกลุ่มจะได้รายงาน ให้ศูนย์ป้องกันและ ช่วยเหลือน้ำท่วมของ สพ ม. และสพฐ. ทราบทุกวัน
4
๕. ในกรณีที่น้ำท่วมหมู่บ้านแต่ ไม่ท่วมโรงเรียนให้ ผู้อำนวยการโรงเรียนหรือผู้ ได้รับมอบหมายให้ความ ช่วยเหลือประชาชนโดย ประสานงานกับเขตปกครอง จัดที่พัก อาหาร และ อำนวย ความสะดวกอื่นๆ สำหรับ งบประมาณที่จะต้องใช้ ให้ ประมาณการรายงานผ่านกลุ่ม โรงเรียน เพื่อจะได้รายงาย สพมและสพฐ. ต่อไป ( เน้น การพึ่งพาตนเองก่อน )
5
๑. กรณีที่น้ำท่วมโรงเรียนให้ ตรวจสอบความเสียหาย โดยเฉพาะชั้นที่อยู่ล่างสุด ให้ตัดไฟ และ ตรวจสอบ ดูแลหาทางสูบน้ำหรือทำคัน ป้องกันเพิ่ม หรือ ประสานงานกับเขตปกครอง เพื่อหาทางแก้ปัญหา โดยเร็ว
6
๒. ประมาณการค่าเสียหาย รายงานผ่านกลุ่มโรงเรียน เพื่อจะได้ของบประมาณไป ยัง สพม. และสพฐ. เพื่อ ซ่อมแซม หรือฟื้นฟูเมื่อน้ำ ลดต่อไป ๓. ประมาณการค่าเสียหาย ของนักเรียน ครู และ บุคลากรทางการศึกษา เพื่อ หาทางช่วยเหลือ
7
๔. จัดที่พักให้ประชาชน ประสานงานกับชุมชน เขต ปกครอง วัด และ ช่วยเหลือ เบื้องต้นเช่นอาหาร น้ำดื่ม ประสานงานกับสาธารณะสุข เรื่องยารักษาโรค และ อื่นๆ ที่ทำได้
8
๑. ซ่อมแซม ส่วนที่เสียหาย สำหรับงบประมาณ สพม. จะ ประสานงานกับ สพฐ. ตามที่ โรงเรียนประมาณการมา จะได้ เท่าไรจะรีบแจ้งให้ทราบ การ ของงบประมาณขอให้มีรูถ่าย ประกอบ ( เน้นช่วยตัวเองก่อน เพราะความเสียหายของ โรงเรียนมีมากรัฐจะต้องช่วย ส่วนที่เสียหายมากๆก่อน )
9
๓. กำหนดการเปิดปิดโรงเรียน ทั้งนี้ให้ประเมินสถานการ ใน เรื่องการเดินทางมาโรงเรียน ของครู ของนักเรียน และ บรรยากาศ ภายในโรงเรียน ด้วย ตามอำนาจที่ได้รับมอบ ถ้าเกินอำนาจขอให้ขออนุญาต มายังผู้มีอำนาจ ๔. หาแนวทางช่วยเหลือครูและ บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน ให้สามารถช่วยเหลือ ตนเองได้
10
โรงเรียนที่น้ำท่วมหรือ เสี่ยงต่อน้ำท่วมให้ วางแผนร่วมกับเขต ปกครองเพื่อหาทาง ป้องกันอย่างถาวร เพื่อ ไม่ให้น้ำท่วมในปี ๒๕๕๕ ๒. เสนอแผนต่อ สพม., สพฐ. เพื่อ ของบประมาณ มา ดำเนินการต่อไป
11
ระยะที่น้ำกำลังท่วม เช่น นำของไปช่วย ยกครัวไปประกอบอาหาร หรืออื่นๆ ขอความคิดเห็นจากที่ประชุม ๒. ระยะหลังน้ำลด เช่น นำ ของและเงินไปมอบ ให้โรงเรียน หรือ พานักเรียน ไปช่วยกันทำ ความสะอาด ทาสี และ หา ของไปช่วย
12
ตั้งศูนย์ประสานงานที่ กลุ่มโรงเรียน ประธานกลุ่มจะต้องหาครูที่มี ความรู้ คอมพิวเตอร์เป็นเวป มาสเตอร์ที่จะต้องรายงาน ข้อมูล สพม. และ สพฐ. ทุกวัน ข้อมูลเป็น รายงานและรูปภาพ
13
๒. ผู้อำนวยการโรงเรียน จะต้องจัดครูที่เป็นเวป มาสเตอร์ ส่งข้อมูล ข่าวสาร ให้กลุ่มทราบทุกวัน ควรจัด รองผอ. เพื่อดูแลรับผิดชอบ ทุกวัน ข้อมูลควรเป็น รายงานและรูปภาพ ๓. ผู้อำนวยการโรงเรียนควร เปิดโทรศัพท์ เพื่อการติดต่อ ได้เมื่อมีเหตุอันจำเป็น เร่งด่วน ที่สพม. หรือ สพฐ. ต้องการคำตอบจะได้ติดต่อ ท่านโดนเร็ว
14
๔. โรงเรียนที่ สพฐ. กำหนด เป็นเขตเสี่ยง ผู้อำนวยการ โรงเรียนจะต้อง ติดตาม ข้อมูลอย่างใกล้ชิด และ สพฐ. จะติดตามมายังท่าน โดยตรง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.