ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การอ่านกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ศาสตราจารย์ ดร.ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
2
สิ่งน่ารู้เกี่ยวกับการอ่านของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา
วัย กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มผู้ใหญ่ วัตถุประสงค์ เน้นการศึกษา ค้นคว้า วิจัย รวมทั้งความบันเทิงพักผ่อนหย่อนใจ ประเภทหรือสื่อที่อ่าน สิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ต เว็บไซต์
3
เนื้อหา เทคนิคการอ่าน
เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา/หลักสูตร/ การเรียน การสอน การค้นคว้าวิจัย การอ่านทั่วไป การอ่านสรุปความ ตีความ คิด วิเคราะห์ สังเคราะห์
4
ตัวแปรที่ส่งผลต่อการอ่านของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา
ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก มีชั้นเรียน มหาวิทยาลัยเปิด มหาวิทยาลัยทางไกล รูปแบบ การศึกษา ระดับการศึกษา สาขาวิชา/ หลักสูตรที่ศึกษา ผู้สอน สังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ ความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาและแหล่งการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องการติดตามวิทยาการ
5
ตัวแปรที่ส่งผลต่อการอ่านของนักศึกษาระดับอุดมศึกษา (ต่อ)
เทคนิคการสอน เช่น resourced –based teaching/ learning, research-based teaching learning กิจกรรมการเรียนการสอน ตัวแปร การวัดและประเมินผลการศึกษา สิ่งแวดล้อมด้านสิ่อการเรียนรู้โดยเฉพาะห้องสมุด บรรณารักษ์
6
การวิจัยเกี่ยวกับการอ่านของนักศึกษา ระดับอุดมศึกษา
สาขาวิชาที่มีการวิจัยเกี่ยวกับการอ่าน - การศึกษาโดยเฉพาะ หลักสูตรและการสอน - ภาษา เช่น ภาษาไทย และภาษาอังกฤษ - บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ - วิทยาการอื่นๆ และ สหวิทยาการ เช่น นิเทศศาสตร์/วารสารศาสตร์ จิตวิทยา คำที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยการอ่าน เช่น การวิจัยเอกสาร การวิเคราะห์เนื้อหา การสังเคราะห์เนื้อหา
7
ประเด็นการวิจัยการอ่านในสาขาการศึกษา
หลักสูตรและการสอน เทคนิคการอ่าน /กลยุทธ์การอ่าน/ทักษะการอ่าน เทคนิคและวิธีการสอนอ่าน โดยใช้เทคนิควิธีการสอนแบบต่างๆ การใช้ กิจกรรม แบบฝึก ความสามารถในการอ่าน เช่น การสร้าง การวัด ผลสัมฤทธิ์การอ่าน เช่น ปัจจัยที่ส่งผล ปัญหาการอ่าน การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน เช่น ชุดการสอนอ่าน บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์
8
ประเด็นการวิจัยการอ่านในสาขาการศึกษา หลักสูตรและการสอน ((ต่อ)
แรงจูงใจในการอ่าน พฤติกรรมการอ่าน นิสัยรักการอ่าน สิ่งแวดล้อมในการอ่าน
9
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
ประเด็นการวิจัย การอ่าน ในสาขาภาษา การอ่านวรรณกรรม
10
ตัวอย่าง เชิดศักดิ์ ชื่นตา สื่อการอ่านสำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาการบริหาร วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2545 สุธาจรี ดุรงค์พันธุ์ การทำนายความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษโดยอาศัย ความตะหนักในโครงสร้างของ ข้อเขียนในบทอ่านภาษาอังกฤษ เชิงสาธกโวหารของนิสิตชั้นปีที่ 1 วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร มหาวิทยาลัยบูรพา 2544 สุวัฒนา รัชตะกูล วิธีการอ่านเรื่อง จากหลายแหล่งข้อมูล ของนักศึกษามหาวิทยาลัย วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2545 กาญจนา เตรียมธนาโชค ความสามารถในการอ่านและกลวิธีการอ่านภาษาอังกฤษ ของนักศึกษา ชั้นปีที่ 2 มหาวิทยาลัยพายัพ เชียงใหม่ วิทยานิพนธ์ปริญญา ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต(ภาษาศาสตร์) มหาวิทยาลัยพายัพ 2542
11
ประเด็นการวิจัยการอ่านในสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
พัฒนาการจากการอ่านสู่การใช้ การแสวงหา การเข้าถึง การค้นคืน ตามพัฒนาการของศาสตร์และผลกระทบจากเทคโนโลยีสารสนเทศ การอ่านทรัพยากรสารสนเทศประเภทต่างๆ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ การอ่านทรัพยากรสารสนเทศในเนื้อหาวิชา/สาขาต่างๆ เช่น วิชาการ สารคดี บันเทิงคดี นวนิยาย การอ่านทรัพยากรสารสนเทศของกลุ่มต่างๆ จำแนกตามวัย เช่น นักศึกษาคณะต่างๆ สาขาวิชาต่างๆ
12
ประเด็นการวิจัยการอ่านในสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์(ต่อ)
พฤติกรรมการอ่าน เช่น ความสนใจ ความต้องการ แรงจูงใจ การส่งเสริมการอ่าน ประสิทธิผลของการอ่าน ปัจจัยที่มีผลต่อการอ่าน บรรณบำบัด
13
ประเด็นการวิจัยการอ่านในสาขาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์(ต่อ)
การแสวงหา (search)การเข้าถึง(access)การค้นคืน(retrieve) สารสนเทศ พฤติกรรมสารสนเทศ การใช้สารสนเทศ/ทรัพยากรสารสนเทศ/โดยเน้นสารสนเทศอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ฐานข้อมูลเว็บไซต์ การรู้สารสนเทศ (information literacy)
14
ตัวอย่างข้อเสนอแนะจากการวิจัย
กลวิธีการอ่านภาษาอังกฤษ ควรอ่านเนื้อเรื่องคร่าวๆก่อนแล้วจึงค่อยกลับมาอ่านอีกรอบเพื่อจับใจความสำคัญ รองลงมาคือ ควรมีการหาความหมายของศัพท์ยากในแต่ละประโยค แล้วแปลความหมายทีละประโยค จนจบเนื้อเรื่อง ควรมีการตั้งคำถามหลังการอ่าน และควรสรุปย่อหลังจากอ่านเนื้อเรื่อง พรพิมล ทะละถา และคณะ การศึกษากลวิธีการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของ นักศึกษาวิชาภาษาอังกฤษ มรภ เชียงราย 2547
15
ตัวอย่างข้อเสนอแนะจากการวิจัย
การใช้การอ่านเพื่อกล่อมเกลาจิตใจ การปลูกฝังนักศึกษาให้มีคุณธรรมและจริยธรรมควบคู่กับการเพิ่มทักษะด้านภาษาอังกฤษ โดยนำการอ่านภาษาอังกฤษมาใช้กล่อมเกลาจิตใจในการพัฒนาความสามารถทางการอ่านภาษาอังกฤษ พร้อมส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมโดยเน้นหลักพุทธธรรม เรื่องอิทธิบาท 4 คือ ฉันทะ วิริยะ จิตตะและวิมังสา ผลการวิจัยพบว่าทำให้นักศึกษามีผลสัมฤทธิ์การเรียนสูงขึ้น เรียนอย่างสนุกสนาน เข้าใจ มีแรงจูงใจ มีทัศนคติที่ดีต่อการอ่านภาษาอังกฤษ และตระหนักเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมมากขึ้น รวมทั้งทำให้นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง พี่งตนเอง เป็นหนทางไปสู่ความสำเร็จทั้งการเรียนและการใช้ชีวิตประจำวัน บุษบามินตรา ฉลวยแสง การใช้การอ่านเพื่อกล่อมเกลาจิตใจในการพัฒนาความสามารถ ทางภาษาอังกฤษและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น งานวิจัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น2551
16
ประเด็นการอ่านในสาขาวิทยาการอื่นๆ
และสหวิทยาการ 1 จิตวิทยา เช่น จิตวิทยาการอ่าน 2 จริยธรรม 3 นิเทศศาสตร์
17
ตัวอย่างงานวิจัยพฤติกรรมการอ่าน สาขานิเทศศาสตร์
ศุภนิตย์ วงศ์ทางสวัสดิ์ ลักษณะเนื้อหา พฤติกรรมการอ่านและการใช้ประโยชน์ของเยาวชนไทยจากบางกอกโพสต์ สติวเด้นท์ วีคลี่และเนชั่นจูเนียร์ วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต (วารสารสนเทศ) จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2542 พัชราวดี พลศักดิ์ พฤติกรรมการอ่าน การใช้ประโยชน์ และความพึงพอใจจากข่าวสารในหนังสือพิมพ์ธุรกิจ ของนักศึกษาระดับปริญญาโทด้านบริหารธุรกิจ หลักสูตรผู้บริหาร ในเขตกรุงเทพมหานคร วิทยานิพนธ์วารสารศาสตร์มหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน)มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2541 ฐิติมาศ เพ็ชรัตน์ การศึกษาพฤติกรรมการอ่าน และความต้องการเนื้อหาจากหนังสือ พิมพ์รายวัน ของนักศึกษาในเขตกรุงเทพมหานคร วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ธุรกิจมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ 2538
18
ตัวอย่างแหล่งข้อมูลเพื่อค้นคว้างานวิจัย/วิทยานิพนธ์ที่เกี่ยวข้อง
24
การส่งเสริมการอ่านแก่นักศึกษาระดับอุดมศึกษา
การสร้างแรงจูงใจ ความเชื่อมโยงการอ่านกับการศึกษา และวิถีชีวิต เกิดความตระหนักและเล็งเห็นความจำเป็น ความร่วมมือระหว่างผู้สอนกับบรรณารักษ์ ความร่วมมือระหว่างนักวิจัยในการวิจัยการอ่านลักษณะ สหสาขาวิชา ความร่วมมือในการส่งเสริมการอ่านอย่างครบวงจรตั้งแต่ ระดับโรงเรียนจนถึงระดับอุดมศึกษา ระดับครอบครัวจนถึง สำนักงานและสังคม ความร่วมมือแก้ไขปัญหาและพัฒนาการอ่านในลักษณะ บูรณาการ
25
ขอบคุณ และ สวัสดีค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.