งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลยุทธ์การพัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพแบบบูรณาการด้วย PCHA

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลยุทธ์การพัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพแบบบูรณาการด้วย PCHA"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลยุทธ์การพัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพแบบบูรณาการด้วย PCHA
เพื่อการรับรองคุณภาพทั่วทั้งจังหวัด Se7en super group

2 วัยวุฒิ และวิวัฒนาการขององค์กร
เราสามารถเดาได้คร่าว ๆได้หรือไม่ว่า องค์กร สสจ. ของเรา มีวัยวุฒิขนาดไหน?

3 วัยวุฒิ และวิวัฒนาการขององค์กร
ที่เราสามารถเดาได้คร่าว ๆได้ เป็นเพราะว่า วัยวุฒิ เกิดจากวิวัฒนาการ!!!

4 วัยวุฒิ และวิวัฒนาการขององค์กร
ขั้นที่ 1...( ) ตอนก่อตั้งใหม่ ๆ คนน้อย รู้จักกันหมด ทำงานร่วมกัน รักใคร่กลมเกลียวกันดี

5 วัยวุฒิ และวิวัฒนาการขององค์กร
ขั้นที่ 2...( ) พอคนเริ่มมีอินทรีย์แก่กล้า ก็มักจะเริ่มเหินห่างกัน เริ่มสงวนท่าที มีอาณาเขตของตัวเอง แต่ขั้นนี้ ยังไม่ได้มีปัญหา

6 วัยวุฒิ และวิวัฒนาการขององค์กร
ขั้นที่ 3...( ) พอคนมีอินทรีย์แก่กล้าได้ที่ ก็จะเริ่มมีการทะเลาะเบาะแว้ง ตอนนี้ จะเป็นระดับคนต่อคนก่อน

7 วัยวุฒิ และวิวัฒนาการขององค์กร
ขั้นที่ 4...( ) ถัดมา คนก็จะเริ่มเกิดการรวมกลุ่ม เพื่อ minimize free energy ซึ่งตอนนี้ เริ่มเกิดการทะเลาะระดับกลุ่มกันขึ้น

8 วัยวุฒิ และวิวัฒนาการขององค์กร
ขั้นที่ 5...( ) ช้าหรือเร็ว ต้องมีการทำสงครามระหว่างกลุ่ม โดยมีสเกลรุนแรงหลากหลาย เหมือนริคเตอร์สเกล เป็นไปตาม power law นั่นคือ ศึกใหญ่มีน้อย ศึกเล็กมีบ่อย

9 วัยวุฒิ และวิวัฒนาการขององค์กร
ขั้นที่ 6...( ) คนกลางที่กุมระดับนโยบายฯ ให้ความเป็นธรรมดี ในกรณีที่ ศึกระหว่างก๊ก มักเป็นศึกเฉพาะกิจ จบแล้วก็จบเลย ไม่มีผลตกค้างมาก

10 วัยวุฒิ และวิวัฒนาการขององค์กร
ขั้นที่ 7...( ) คนกลางที่กุมระดับนโยบายฯ ไม่ให้ความเป็นธรรมที่ดี แต่ถ้า... จะเริ่มเกิดการแหกกฎ เกาะกลุ่มแย่งผลประโยชน์

11 วัยวุฒิ และวิวัฒนาการขององค์กร
ขั้นที่ 8...( ) มีปัญหาการเกาะกลุ่มเชิงผลประโยชน์แบบไม่เป็นธรรม เกิดการประกาศอาณาเขต "ห้ามหมาผ่าน" คือ มีการใช้ฟีโรโมนแบ่งอาณาเขต เกิดสงครามยืดเยื้อ แย่งอำนาจ ทั้งแบบลับหลังและซึ่งหน้า ถึงขั้นล่มสลายได้

12 วัยวุฒิ และวิวัฒนาการขององค์กร
ขั้นที่ 9...( ) แต่ถ้าผ่านขั้นที่ 8 ไปอีกระยะ หลังคลี่คลายวิกฤติ จะเริ่มเกิดสันติภาพแบบคนที่โตเต็ม(วัย) ที่ มีความสุกงอม จะย้อนกลับไปหนึ่งก้าว คืออาจเกาะกลุ่มกันหลวม ๆ แต่อยู่ตามกฎ

13 วัยวุฒิ และวิวัฒนาการขององค์กร
ขั้นที่ 10 ขั้นสุดท้าย...( ) แต่ถ้าผ่านขั้นที่ 9 มาได้ ก็จะเป็นขั้นที่ถึงขั้น วิทยายุทธลึกล้ำ แต่บรรยากาศผ่อนคลาย

14 เราดันไปอยู่ตรงลำดับขั้นไหนของวิวัฒนาการ
อยู่ตอนต้นไปเลย หรือ ตอนปลายไปเลย ... ถือว่าเป็นโชค อยู่ตอนกลาง ๆ นี่ .... ลำบากหน่อย เพราะมี กฎของป่า ให้เรียนรู้เยอะ เรียนรู้เร็ว ก็จะอยู่ตรงยอดของห่วงโซ่อาหาร เรียนรู้ช้า ก็จะโดนทักทาย ว่า "Welcome to my food chain !"

15 แต่ในองค์กร สสจ. นี่ เป็น recursive function
คือ มีองค์กรซ้อนองค์กร หลั่นเรียงชั้นลงไป และแต่ละชั้น ก็มีระดับวิวัฒนาการที่แตกแขนงแยกขาดออกไปจากกัน คือ อาจมีองค์กร at war ที่ซ้อนอยู่ในองค์กร at peace หรือกลับกันก็ได้ โดยองค์กรระดับมหภาค ก็แสดงพฤติกรรมโดยเฉลี่ยของระบบออกมา

16 ปัจจัยเร่ง KSF/CSF คงอยู่ที่ “ความแฟร์ ความเป็นกลางของคนกลาง”...ที่คอยชี้ขาด ที่จะคอยเกลี่ยความเป็นธรรม คงอยู่ที่ “ตัวคนในองค์กรเอง”ด้วย ... ว่ารู้จักคุมสติตนเองได้แค่ไหน

17 ปัจจัยเร่งที่ 1 “ความแฟร์ ความเป็นกลางของคนกลาง”
ถ้าโชคดี องค์กร สสจ. ของเรา มีคนกลางดี องค์กรอาจข้ามขั้น ไปโตสุกงอมที่ ขั้นที่ 9 หรือ 10 ได้ (ฝันหวานแบบนกกระจอกเทศหลบพายุทราย?)

18 ปัจจัยเร่งที่ 2 “ตัวคนในองค์กรเอง”
โลกอดีต "ชีวิตคือละคร“ แต่ โลกปัจจุบัน "ชีวิตคือการดูละคร" ขณะที่ผมเห็นคนสองคนทะเลาะกัน (ผมเป็นคนดู เพราะสอดเข้าไป คงโดนลูกหลง) แต่หลังจากทะเลาะกันเสร็จ ผมรับฟังฝ่ายที่โดนด่า บ่นความในใจ ...ผมก็เลยทะลึ่ง ปลอบใจคนคนนั้นว่า “ชีวิตคือการดูละคร” และ “การมีชีวิต คือ การมาชุมนุมกันดูละคร” ดูละครเสร็จ ต่างคนต่างก็แยกย้ายกลับไป มามือเปล่า กลับไปก็มือเปล่า ... อย่าคิดมาก

19 ภาพรวมระบบคุณภาพแบบบูรณาการ (PCA , HA , PMQA , TQA)
โครงร่างองค์การ 1. การนำองค์การ 7. ผลลัพธ์ 5. การมุ่งเน้น บุคลากร 2. การบริหาร เชิงกลยุทธ์ 3. ผู้ป่วยและผู้รับผลงาน สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 1.1 การนำองค์การโดยผู้นำระดับสูง 1.2 การกำกับดูแลและความรับ ผิดชอบต่อสังคมในภาพใหญ่ (TOWS) (โครงสร้าง) (ผลลัพธ์ (7 ด้าน)) 5.1 ความผูกพันของบุคลากร 5.2 สภาพแวดล้อมของบุคลากร 2.1 การจัดทำกลยุทธ์ 2.2 การถ่ายทอดกลยุทธ์ เพื่อนำไปปฏิบัติ 7.1 ด้านการดูแลผู้ป่วย 7.2 ด้านการมุ่งเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงาน 7.3 ด้านการเงิน 7.4 ด้านทรัพยากรบุคคล 7.5 ด้านระบบงานและกระบวนการที่สำคัญ 7.6 ด้านการนำ 7.7 ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ 6. การจัดการ กระบวนการ 3.1. ความรู้เกี่ยว กับผู้ป่วยและผู้รับผลงาน 3.2. ความสัมพันธ์ ความพึงพอใจของผู้ป่วยและผู้รับผลงาน 4.1. การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลงานขององค์การ 4.2.การจัดการสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการจัดการความรู้ 6.1 ระบบสนับสนุน 6.2 กระบวนการสร้างคุณค่า ระบบงานที่สำคัญของ ร.พ. และเครือข่าย กระบวนการดูแลผู้ป่วย 1.สสจ.และ สสอ. 2.อำนวยการหรือบริหารทั่วไป 3.พ.บ.ส. 1. การบริหารความเสี่ยง ความปลอดภัย และคุณภาพ 2. การกำกับดูแลด้านวิชาชีพ 3. สิ่งแวดล้อมในการดูแลผู้ป่วย และความปลอดภัย 4. การป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ 5. ระบบเวชระเบียน 6. ระบบจัดการด้านยา 7. การตรวจทดสอบประกอบการ วินิจฉัยโรคและบริการที่เกี่ยวข้อง 8. การเฝ้าระวังโรคและภัยสุขภาพ 9. การทำงานกับชุมชน 10. กระบวนการดูแลผู้ป่วยและการจัดการบริการสุขภาพโดยรวม 1.การเข้าถึงและการรับบริการ 2.การประเมินผู้ป่วย 3.การวางแผนดูแลผู้ป่วย 4.การดูแลผู้ป่วย 5.การให้ข้อมูลและการเสริมพลัง 6.การดูแลต่อเนื่อง *7.การแพทย์ฉุกเฉินและ การส่งต่อ(เพิ่มเติม) ทีมคร่อมสายงาน ระบบงาน ทีมคร่อม สายงาน ดูแลผู้ป่วย

20 3 H Concepts Heart Head Hand

21 Creative Implementation
ระดมสมอง: วิธีการที่สร้างสรรค์ เรียบง่าย ได้ผล ตามบริบทแห่งพื้นที่

22 ภาวะผู้นำ เพื่อนร่วมอุดมการณ์ แรงบันดาลใจ

23 ผู้นำระดับสูง กำหนดพันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม
16-20/01/55 ผู้นำระดับสูง กำหนดพันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม ผู้นำระดับสูง ถ่ายทอดวิสัยทัศน์ ค่านิยมผ่านระบบการนำ ไปยังบุคลากรทุกคนและ คู่พันธมิตรสำคัญ เพื่อนำไปปฏิบัติ 23

24 4 stones, 7 marbles

25 บุคลากรปฏิบัติงานไปในทิศทางเดียวกันกับที่ได้รับการชี้นำจากผู้นำ
ผู้นำระดับสูง ชี้นำองค์กร สื่อสารและส่งเสริมผลการดำเนินงานที่ดี ให้ความมั่นใจในคุณภาพและความปลอดภัยในการดูแลผู้รับบริการ การชี้นำองค์กร บุคลากรปฏิบัติงานไปในทิศทางเดียวกันกับที่ได้รับการชี้นำจากผู้นำ องค์กรมีผลงานที่ดี มุ่งเน้นผู้ป่วย มุ่งเน้นคุณภาพ/ ความปลอดภัย การสร้างสิ่งแวดล้อม และบรรยากาศ การสื่อสาร เสริมพลัง สร้างแรงจูงใจ การสร้างวัฒนธรรม ความปลอดภัย การกำหนดจุดเน้น ผู้รับผลงาน บุคลากรทุกคน คู่พันธมิตรที่สำคัญ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สังคมโดยรวม ผู้รับผิดชอบ ผู้นำระดับสูง

26 การติดตามจากผู้บริหารระดับสูง
บริบท/ปัจจัยที่ควรพิจารณา : ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ พันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม โครงสร้าง การนำ บุคลากร คู่พันธมิตร การติดตามจากผู้บริหารระดับสูง บุคลากรปฏิบัติงานไปในทิศทางเดียวกันกับที่ได้รับการชี้นำจากผู้นำ ระบบการนำ องค์กรมีผลงานที่ดี มุ่งเน้นผู้ป่วย มุ่งเน้นคุณภาพ/ ความปลอดภัย การปฏิบัติเป็นตัวอย่าง กำหนด ถ่ายทอด พันธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านิยม รูปธรรมของ การปฏิบัติ ประเมินการรับรู้ ความเข้าใจ ความมุ่งมั่น

27 ปัจจัยแห่งความสำเร็จ Key success factors
IT การปรับอัตรากำลัง : Human Resources Management and Development การให้รางวัล : Rewarding Innovation for evaluation

28 PCHA = Primary Care and Hospital Accreditation
ส่วนที่ 1 PCHA คืออะไร ขั้นตอนการพัฒนาและประเมิน PCHA ด้วยการใช้ระบบคะแนน (Scoring) ของ HA QA และ ระดับขั้นการพัฒนาขั้นที่ 1 – ขั้นที่ 5 ตามมาตรฐาน เกณฑ์คุณภาพ PCA PCHA = Primary Care and Hospital Accreditation  กระบวนการและขั้นตอนการพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพแบบบูรณาการในภาพรวมของเครือข่ายบริการสุขภาพที่มีการใช้การบริหารจัดการระบบโรค (Diseases Management System) ที่เชื่อมโยงตั้งแต่โรงพยาบาลแม่ข่ายเชื่อมโยงสู่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ภาคีเครือข่าย ชุมชน ครัวเรือน และบุคคล

29 ส่วนที่ 2 การใช้ระบบบริหารจัดการโรค (Diseases
ส่วนที่ 2 การใช้ระบบบริหารจัดการโรค (Diseases Management System) ที่เป็นปัญหาสำคัญมาเป็น กรอบ การประเมินตนเองในส่วน โครงร่างองค์การ (สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ ความท้าทาย) ระบบการบริหารจัดการโรคและกลุ่มโรค : คณะกรรมการบริหารและพัฒนาคุณภาพแบบบูรณาการ (QMT) ทำการวิเคราะห์และสังเคราะห์โรคและกลุ่มโรคที่เป็นปัญหาสำคัญในเครือข่ายบริการสุขภาพ นำมาออกแบบและบริหารจัดการตามมาตรฐานเกณฑ์คุณภาพของ HA QA และ PCA แล้วประเมินตนเองในโครงร่างองค์การ แล้วกำหนดความได้เปรียบเชิง กลยุทธ์ ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ และโอกาสในการปรับปรุงและพัฒนา

30 ขั้นตอนการให้ระบบบริหารจัดการโรค และกลุ่มโรค
มาประเมินโครงร่างองค์การของเครือข่ายบริการสุขภาพ ขั้นที่ 1 คณะกรรมการ QMT จัดเตรียมสารสนเทศเชิงกลยุทธ์โดยนำเสนอต่อคณะกรรมการคุณภาพที่เกี่ยวข้อง ในรูปแบบ Le – T – C - I โดยให้ครอบคลุม Risk 4. Policy Cost 5. โรคที่ต้องประสานงานกันสูงเป็นพิเศษ 3. Volume 6. โรคที่มีผลลัพธ์การดูแลรักษาที่ไม่ดี

31 ขั้นที่ 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการจัดอันดับโรคและกลุ่มโรคตามหลักเกณฑ์ ทางวิชาการ หรือตามบริบทของแต่ละเครือข่ายบริการสุขภาพ 1. กำหนดน้ำหนักความสำคัญของเกณฑ์ Risk Cost Volume Policy ตามสถิติและกราฟด้วยแผนภูมิ LeTCI 2. กำหนดหลักเกณฑ์การให้คะแนนทั้ง 5 ระดับ ระดับคะแนน 1 2 3 4 5 เกณฑ์ 3. คำนวณหาค่าคะแนนเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก โดยนำน้ำหนักความสำคัญมาคูณกับระดับคะแนน แล้วจัดอันดับ

32 ขั้นที่ 3 นำโรคและกลุ่มโรคที่ได้จากขั้นที่ 2 มาเป็นหลักเกณฑ์ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของเครือข่ายบริการสุขภาพ ปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรค (Threats) และปัจจัยความได้เปรียบ (Opportunities) 1. ด้านประชากร 2. ด้านสังคม 3. ด้านเศรษฐกิจ 4. ด้านการเมือง วิเคราะห์ โรคและกลุ่มโรค กลุ่ม ประชากร ทางคลินิก กลุ่มผู้รับผลงาน = สังเคราะห์

33 ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ กลุ่มผู้รับผลงานตามโรค
ขั้นที่ 4 นำกลุ่มประชากรทางคลินิก และผู้รับผลงานตามโรค และกลุ่มโรคมาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในการจัดบริการสุขภาพ ความท้าทายเชิงกลยุทธ์ 1. ด้านการดูแลผู้ป่วย 2. ด้านการมุ่งเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงาน 3. ด้านการเงิน 4. ด้านทรัพยากรบุคคล 5. ด้านระบบงานและกระบวนการที่สำคัญ 6. ด้านการนำ 7. ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ระบบการจัดบริการสุขภาพของเครือข่ายบริการสุขภาพ Care Map 1. ประเด็นความเสี่ยง 2. ประเด็นคุณภาพ 3. Proxy Diseases การตามรอยโรคทางคลินิกที่สำคัญ (Clinical Tracer Highlight) กลุ่มประชาการ ทางคลินิก กลุ่มผู้รับผลงานตามโรค และกลุ่มโรค วิเคราะห์ = สังเคราะห์

34 จัดกลุ่มกลยุทธ์ ขั้นที่ 5
นำความท้าทายทั้ง 7 ด้านมากำหนดประเด็นเชิงกลยุทธ์ ความท้าทาย 1. ด้านการดูแลผู้ป่วย 2. ด้านการมุ่งเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงาน 3. ด้านการเงิน 4. ด้านทรัพยากรบุคคล 5. ด้านระบบงานและกระบวนการที่สำคัญ 6. ด้านการนำ 7. ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ จัดกลุ่มกลยุทธ์ กลุ่มความได้เปรียบเชิงกลยุทธ์ (SO) กลุ่มความท้าทายเชิงกลยุทธ์ (ST และ WT) กลุ่มโอกาสในการปรับปรุงและพัฒนา (WO และ WT)

35 การใช้ความท้าทายผลลัพธ์ 7 ด้าน มาประเมินตนเองในการบริหารจัดการตาม
ส่วนที่ 4 การใช้ความท้าทายผลลัพธ์ 7 ด้าน มาประเมินตนเองในการบริหารจัดการตาม มาตรฐานเกณฑ์คุณภาพ หมวด1 – หมวด6 มาตรฐานเกณฑ์คุณภาพ 9 ระบบงานที่สำคัญ มาตรฐานเกณฑ์คุณภาพ 6 ระบบงานและ ผลลัพธ์ 7 ด้าน

36 ส่วนที่ 5 เจาะลึกมาตรฐานเกณฑ์คุณภาพ. HA QA PCA เพื่อบูรณาการให้
ส่วนที่ 5 เจาะลึกมาตรฐานเกณฑ์คุณภาพ HA QA PCA เพื่อบูรณาการให้ เป็น PCHA

37 ส่วนที่ 6 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน. ตามเกณฑ์คุณภาพทั้ง HA QA
ส่วนที่ 6 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมิน ตามเกณฑ์คุณภาพทั้ง HA QA PCA โดยใช้หลัก A-D-L-I และ Le-T-C-I

38 ส่วนที่7 กลยุทธ์การเขียนรายงาน. ประเมินตนเอง เพื่อขอรับการ
ส่วนที่7 กลยุทธ์การเขียนรายงาน ประเมินตนเอง เพื่อขอรับการ ประเมินคุณภาพ รายงานประเมินตนเอง เพื่อขอรับการรับรองคุณภาพ PCHA การเขียนรายงานผลการดำเนินงานในรูปแบบการวิเคราะห์ และสังเคราะห์จากสารสนเทศเชิง กลยุทธ์ 3-5 ปี พร้อมกับเสนอแนวทางการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา

39 รายงานการประเมินตนเอง PCHA มีดังนี้
CUP Profile SA ตอน PCT Profile Clinical Tracer Highlight Service Profile ทุกหน่วยงานใน CUP ดำเนินการ IRBM1 – IRBM2 – IRBM3 – IRBM4 QMT ดำเนินการ QMT ดำเนินการ

40 การบริหารการองค์กร/หน่วยงานย่อย
ทิศทาง (มี)... วิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าประสงค์ โครงสร้างทำ... ทั้งภาพรวม และ รายกลุ่มงาน เดินตามแผน... การบริหารเชิงกลยุทธ์ แล่นติดตาม... มอบหมายตัวชี้วัดตาม K /งานยุทธศาสตร์ตามค่างาน / ตัวชี้วัดงานประจำ / ตัวชี้วัดภาพรวม ถามถึงคน... ศูนย์ management Cockpit กำหนดปัจจัยเกื้อหนุนที่มีผลต่อความผูกพันของบุคลากร 10 ปัจจัย(1. ปัจจัยด้านการบริหารค่าตอบแทน 2. การยกย่องชมเชยและการให้รางวัล 3. ด้านการมอบอำนาจ 4. การฝึกอบรม 5. การจัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการทำงาน 6.ความปลอดภัยในที่ทำงาน 7. การให้โอกาสที่เท่าเทียมกัน 8. การคำนึงภาระงาน 9.การทำงานเป็นทีม 10. ระบบการพิจารณาความดีความชอบที่เป็นธรรม) การบริหารคน(case manager) การจัดอัตรากำลัง(Key สูตร Productivity ทุกเวร) การประชุมวิชาการประจำปี

41 การบริหารคน-NURSE MANERGER
5. ถามถึงคน การบริหารคน-NURSE MANERGER ระบบดูแลผู้ป่วย / ปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ กลุ่มผู้ป่วยที่มี อาการฉับพลัน MI / Head Injury กลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง DM / HT / COPD / Asthma งานอนามัยแม่ และเด็ก กลุ่มผู้ป่วยติดเชื้อ / โรคระบาด TB / HIV / ชิกุนคุนย่า / ไข้หวัด 2009 กลุ่มผู้ป่วยเฉพาะ จิตเวช ผู้ป่วยสถานการณ์ ผู้ป่วยถูกกระทำชำเรา

42

43

44 องค์การแห่งความสุข

45 การบริหารจัดการระบบสุขภาพด้วยเครือข่ายบริการสุขภาพ
เหตุผลและความจำเป็น การบริหารจัดการระบบสุขภาพด้วยเครือข่ายบริการสุขภาพ ผู้อำนวยการโรงพยาบาล สาธารณสุขอำเภอ คณะกรรมการบริหารระบบคุณภาพ (Quality Management Team : QMT) 1. กลุ่มงานการแพทย์ (ร.พ.) 2. กลุ่มงานพยาบาล (ร.พ.) 3. กลุ่มงานทันตสาธารณสุข (ร.พ.) 4. กลุ่มงานเภสัชกรรมและ คบส. (ร.พ.) 5. กลุ่มงานเทคนิคบริการ (ร.พ.) กลุ่มงานการจัดการ กลุ่มงานบริหารกลยุทธ์ ●งานบริหารจัดการที่ดี ●งานการนำ ●งานบริหารทั่วไป ร.พ. ●งานบริหารเชิงกลยุทธ์ ●งานบริหารทั่วไป CUP ●งานมุ่งเน้นผู้ป่วยและผู้รับผลงาน ●งานการวัด วิเคราะห์ และจัดการความรู้ ●งานจัดการการกระบวนการ ●งานผลลัพธ์ 1. กลุ่มงานเวชศาสตร์ครอบครัวและบริการปฐมภูมิ (รพ.) 2. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) 3. ศูนย์สุขภาพชุมชนเมือง (รพท. รพศ.) 4. ศูนย์บริการสาธารณสุข (อปท.) 5. คลินิกบริการปฐมภูมิ (รพ.เอกชน) ภาคีเครือข่ายจัดการสุขภาพ ภาคีเครือข่ายภาคประชาชน

46 สรุป กลุ่มโรคและโรค ตาม Agenda Based
รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. 1.โรคหัวใจ 2. โรคมะเร็ง 3. อุบัติเหตุ(Trauma) 4. เด็กแรกเกิด(NICU)

47 สรุป กลุ่มโรคและโรค ตาม Area Based(ภาพจังหวัด/อำเภอ)
รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. 1. สูติฯ ? 2. ศัลย์ ? 3. อายุร ? 4. เด็ก ?

48 สรุป กลุ่มโรคและโรค ตาม Area Based(ภาพตำบล/หมู่บ้าน)
รพศ. รพท. รพช. รพ.สต. 1. สูติฯ ? 2. ศัลย์ ? 3. อายุร ? 4. เด็ก ?

49


ดาวน์โหลด ppt กลยุทธ์การพัฒนาเครือข่ายบริการสุขภาพแบบบูรณาการด้วย PCHA

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google