สารคอลลอยด์ (Colliod)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สารคอลลอยด์ (Colliod)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สารคอลลอยด์ (Colliod)
• อนุภาคมีขนาดเล็กและไม่ละลายน้ า • อนุภาคมีเส้นผ่านศูนย์กลางอยู่ ระหว่าง cm cm. • มองเห็นสารคล้ายๆ จะเป็นเนื้อ เดียวกัน แต่เมื่อวางทิ้งไว้สามารถ ตกตะกอนได้ • สามารถเป็นได้ทั้ง ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

2 ชนิดของคอลลอยด์ • ซอลล์ (Sols) เป็นคอลลอยด์ที่มีอนุภาคคอลลอยด์เป็นของแข็งแขวนลอย ในของเหลว เช่น โปรตีนในน้ า แป้งในน้ า ผงก ามะถันในน้ า • สามารถแบ่งออกเป็น 2 ชนิด – ไลโอโฟบิก ซอลส์ (Lyophobic Sols) อนุภาคคอลลอยด์ที่ไม่มีขั้ว อนุภาคคอลลอยด์ไม่สามารถถูกล้อมรอบด้วยตัวท าละลายที่มีขั้ว ได้ เช่น ผงก ามะถันในน้ า ผงทองค าในน้ า – ไลโอฟิลิก ซอลส์ (Lyophilic Sols) อนุภาคคอลลอยด์ที่มีขั้ว จึง สามารถดึงดูดกับโมเลกุลของตัวท าละลายได้

3 ชนิดของคอลลอยด์ • อิมัลชัน (Emulsion) เป็นระบบคอลลอยด์ที่มี อนุภาคเป็นของเหลวที่ไม่สามารถละลายเข้ากันได้ – ถ้ามองด้วยตาเปล่าจะเห็นเป็นลักษณะเนื้อ เดียวกัน – ถ้ามองขยายจากเดิมจะเห็นสารแยกเป็นส่วน เป็นเม็ดเล็กๆ แทรกอยู่ในของเหลวอีกชนิด หนึ่ง – เช่น น้ านม โปรตีนแขวนลอยอยู่ในน้ า

4 ชนิดของคอลลอยด์ • เจล (Gel) เป็นระบบคอลลอยด์โดยที่มี อนุภาคของแข็งโมเลกุลใหญ่ ซึ่งอาจ เป็นมาโครโมเลกุล (macromolecule) แขวนลอยในของเหลว • แอโรซอล (Aerosol) เป็นระบบคอลลอยด์ ที่มีอนุภาคของแข็งหรือของเหลว แขวนลอยอยู่ในแก๊ส เช่น ฝุ่น ควัน และ หมอกในอากาศ เมฆ สเปรย์ชนิดต่างๆ

5 ชนิดของคอลลอยด์ • โฟมของเหลว (Liquid foam) เป็น ระบบคอลลอยด์ที่มีอนุภาคเป็นแก๊ส แขวนลอยอยู่ในของเหลว เช่น ฟอง สบู่ ฟองแก๊สต่างๆ ที่แขวนลอยอยู่ใน น้ า • โฟมของแข็ง (Solid foam) เป็น ระบบคอลลอยด์ที่มีอนุภาคเป็นแก๊ส แขวนลอยอยู่ในของแข็ง เช่น ฟองอากาศในแร่ต่างๆ ฟองน้ า

6 สมบัติของคอลลอยด์ • อนุภาคเคลื่อนที่แบบบราวเนียน (Brownian) คือ การเคลื่อนที่ แบบมีทิศทางไม่แน่นอน

7 สมบัติของคอลลอยด์ เมื่อน าแสงไฟไปส่องอนุภาคคอลลอยด์ อนุภาคคอลลอยด์จะเกิดการ กระเจิงแสง เรียกว่า ปรากฏการณ์ทินดอลล์ (Tyndall effect)

8 ปรากฏการณ์ทินดอลล์ (Tyndall effect)

9 อิมัลชัน (Emulsion) ของเหลวสองนิดที่ไม่ละลายซึ่งกันและกัน เช่น น าน้ าผสมกับ น้ ามัน แล้วเขย่าแรงๆ จะเป็นคอลลอยด์ที่ไม่ถาวร

10 อิมัลซิไฟเออร์ (Emulsifier)
เป็นสารบางชนิดที่เติมลงไปเพื่อให้เป็นคอลลอยด์ที่ไม่ถาวรอยู่ตัว เช่น สบู่ ผงซักฟอก น้ าดี

11 โฮโมจีไนเซชัน (Homogenization)
เป็นการท าให้คอลลอยด์ของน้ านม อยู่ตัว โดยการอัดน้ านมผ่านรูเล็กๆ โดยใช้ความดันสูงๆ ท าให้ไขมัน ในน้ านมแตกออก เป็นอนุภาค เล็กๆ จึงรวมตัวกับน้ าได้


ดาวน์โหลด ppt สารคอลลอยด์ (Colliod)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google