ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
แนวทางอนุรักษ์พลังงานของระบบไฟฟ้าในอาคาร
นายสุรวุฒิ บุนนาค สฟก.4559 หัวหน้าแผนกวิเคราะห์คุณภาพไฟฟ้า กองบริการลูกค้า ฝ่ายวิศวกรรมและบริการ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เขต 3 (ภาคกลาง) จ.นครปฐม
2
หัวข้อการนำเสนอ การประหยัดพลังงานคืออะไร หลักในการอนุรักษ์พลังงาน
กรณีศึกษา
3
การประหยัดพลังงานคืออะไร
การประหยัดพลังงาน หมายถึง การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ หรือการลดค่าใช้จ่ายพลังงาน โดยไม่ทำให้ผลผลิตเสียหาย และระดับความสบายของผู้ใช้ต้องอยู่ในระดับมาตรฐาน สับ Breaker ลงสิครับประหยัดสุด ไม่เสียค่าไฟฟ้าสักบาท
4
การประหยัดพลังงานคืออะไร
วัตถุประสงค์ของการประหยัดพลังงานมีหลายอย่าง แต่เหตุผลที่สำคัญที่สุดที่เจ้าของกิจการตัดสินใจดำเนินการประหยัดพลังงาน คือ “เพื่อลดค่าใช้จ่าย” กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน(พพ.) ที่มา : สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย, Industrial Survey : Energy & Environmental Technology
5
การประหยัดพลังงานคืออะไร
การประหยัดพลังงานจะสัมฤทธิ์ผลหรือไม่ขึ้นอยู่กับ สิ่งสำคัญ 2 ประการดังนี้ เทคนิคการประหยัดพลังงาน กระบวนการประหยัดพลังงาน
6
การประหยัดพลังงานคืออะไร
1. เทคนิคการประหยัดพลังงาน อุปกรณ์ที่ช่วยในการประหยัดพลังงาน คือ อุปกรณ์หรือเครื่องจักร ประสิทธิภาพสูงและอุปกรณ์ที่ติดตั้งเพื่อควบคุมการใช้พลังงาน ระบบที่ช่วยในการประหยัดพลังงาน คือ ระบบควบคุมการใช้พลังงาน วิธีการที่ช่วยในการประหยัดพลังงาน คือ การใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและการออกแบบเพื่อการประหยัดพลังงาน
7
การประหยัดพลังงานคืออะไร
2. กระบวนการประหยัดพลังงาน กระบวนการประหยัดพลังงาน คือ ขั้นตอนในการนำเทคนิคประหยัดพลังงานไปใช้ วิเคราะห์ค่าใช้จ่าย การตรวจสอบการใช้พลังงาน วิเคราะห์ศักยภาพในการประหยัดพลังงาน วิเคราะห์การเงิน กำหนดเป้าหมาย แผน และการลงทุน ติดตามผลและประเมินผล
8
หลักในการอนุรักษ์พลังงาน
การประหยัดพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรมควรเริ่มจากเทคโนโลยีที่ง่ายใช้เงินลงทุนน้อยไปจนถึงการประหยัดพลังงานที่ต้องใช้เทคโนโลยีสูงและเงินลงทุนมาก สามารถแบ่งเป็น 3 ระดับ ได้แก่ 1. การบำรุงรักษาและการดูแลเบื้องต้น การปรับตั้งการทำงานต่างๆ ของเครื่องจักร เช่นการกำหนดให้มีวิธีการ ดูแลรักษาที่ถูกต้องซึ่งเป็นวิธีที่ไม่เสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นหรือเสียค่าใช้จ่ายเล็กน้อย แต่มีระยะคืนทุนสั้นๆ คือ ประมาณน้อยกว่า 4 เดือน
9
หลักในการอนุรักษ์พลังงาน
2. การปรับปรุงกระบวนการเดิมเพื่อให้ได้ประสิทธิภาพสูงขึ้น การทำให้ค่าสูญเสียต่างๆลดน้อยลง ซึ่งจะต้องตรวจวิเคราะห์อย่างละเอียดโดยทั่วไปมาตรการนี้จะต้องการเงินลงทุนปานกลางระยะเวลาคืนทุน ประมาณ 1 – 2 ปี 3. การเปลี่ยนแปลงอุปกรณ์หรือระบบ เมื่อการตรวจวิเคราะห์ขั้นต้นชี้ให้เห็นว่าสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานด้วยการเปลี่ยนหรือเพิ่มอุปกรณ์ ซึ่งจะต้องมีการประเมินผลตอบแทนทางการเงินที่ได้โดยมาตรการนี้ส่วนใหญ่มีการลงทุนที่สูงและมีระยะเวลาคืนทุนประมาณ ปี
10
หลักในการอนุรักษ์พลังงาน
การจัดการแบบเดิมไม่มีส่วนร่วม การจัดการแบบมีส่วนร่วม เจ้าของและ/ หรือผู้บริหาร ผู้จัดการด้านพลังงาน/ ทีมงาน พนักงาน ระดับปฏิบัติการ เจ้าของและ/ หรือผู้บริหาร ผู้จัดการด้านพลังงาน/ ทีมงาน พนักงาน ระดับปฏิบัติการ
11
SAVE YOUR ENERGY SAVE OUR ENERGY AND SAVE THE ENVIRONMENT
งานบริการด้านการจัดการพลังงานของ กฟภ. งานบริการด้านการจัดการพลังงานของ กฟภ. วัตถุประสงค์ เพื่อบริการให้คำแนะนำและดำเนินการจัดการเกี่ยวกับการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพให้แก่ผู้ใช้ไฟฟ้า SAVE YOUR ENERGY SAVE OUR ENERGY AND SAVE THE ENVIRONMENT
12
งานบริการด้านการจัดการพลังงานของ กฟภ.
แนวทางในการจัดการพลังงาน ตรวจวัด วิเคราะห์การใช้พลังงาน พัฒนาบุคลากรของผู้ใช้ไฟฟ้า
13
งานบริการด้านการจัดการพลังงานของ กฟภ.
แนวทางในการจัดการพลังงาน ตรวจวัด
14
งานบริการด้านการจัดการพลังงานของ กฟภ.
แนวทางในการจัดการพลังงาน วิเคราะห์การใช้พลังงาน หลังจากทำการตรวจวัดแล้วนำข้อมูลที่ได้จากการตรวจวัดมาหามาตรการในการลดค่าใช้จ่ายการใช้พลังงาน ทั้งส่วนของพลังงานความร้อนและพลังงานไฟฟ้า เพื่อนำไปจัดการพลังงานให้เหมาะสม
15
งานบริการด้านการจัดการพลังงานของ กฟภ.
แนวทางในการจัดการพลังงาน พัฒนาบุคลากรของผู้ใช้ไฟฟ้า การพัฒนาบุคลากรของผู้ใช้ไฟฟ้าให้มีความเข้าใจและมีส่วนร่วมในการจัดการพลังงานควบคู่ไปด้วยกัน ก็จะส่งผลทำให้เกิดการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืนต่อไป
16
กรณีศึกษา
17
บริษัท A ผลิตน้ำแข็ง จากการเข้าไปทำการสำรวจและตรวจวัด เพื่อหามาตรการในการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานพบ 5 มาตรการดังนี้ ปรับปรุงม่านประตูที่ชำรุด การเปลี่ยนใบพัดลมของ Cooling Tower เป็นไฟเบอร์กลาส การสร้างหลังคากันความร้อนให้ถังน้ำป้อน การลดอุณหภูมิน้ำก่อนเข้าเครื่องผลิตน้ำแข็ง การปิดหลอดไฟในบริเวณที่ไม่ได้ใช้งาน
18
การจัดวางของที่จะแช่ให้มีช่องว่าง เพื่อการประหยัดพลังงาน
ควรจัดวางให้มีช่องว่างอากาศเพื่อให้เกิดลมกระจายทั่วถึงทุกๆ ชิ้น แล้วปรับค่าอุณหภูมิห้องเย็นให้เหมาะสมกับของที่จะแช่
19
ประตูขาดง่ายเนื่องจากพลาสติกไม่เหมาะสม
บริษัท A 1. ปรับปรุงม่านประตูที่ชำรุด ประตูขาดง่ายเนื่องจากพลาสติกไม่เหมาะสม ประมาณ 0.14 ตร.เมตร
20
คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้
บริษัท A ผลที่ประหยัดได้ 12,779 kWh/ปี คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ 35,526 บาท/ปี เงินลงทุน 5,000 บาท ระยะเวลาคืนทุน ปี
21
น้ำหนักเบากว่าปริมาณลมเท่าเดิม
บริษัท A 2. การเปลี่ยนใบพัดลมของ Cooling Tower เป็นไฟเบอร์กลาส อลูมิเนียมหล่อ น้ำหนักเบากว่าปริมาณลมเท่าเดิม
22
คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้
บริษัท A 2. การเปลี่ยนใบพัดลมของ Cooling Tower เป็นไฟเบอร์กลาส ติดตั้งใบพัดซึ่งเป็นวัสดุไฟเบอร์กลาสจะประหยัดพลังงานได้ประมาณ 15% เมื่อเปรียบเทียบกับชุดใบพัดเดิม คิดเป็นพลังงานไฟฟ้าที่ประหยัดได้ดังนี้ (ค่าไฟฟ้าเฉลี่ย 2.81 บาท/หน่วย) ประหยัดได้ = (7.50 kW x 15 %) x 15 ชม. X 30 วัน = หน่วย/เดือน x 12 = 6, หน่วย/ปี = 6, x 2.81 = 17,070.75บาท/ปี เงินลงทุน = 25,000 บาท คืนทุน = 25,000 / 17,070.75 = ปี ผลที่ประหยัดได้ 6,075 kWh/ปี คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ 17, บาท/ปี เงินลงทุน 25,000 บาท ระยะเวลาคืนทุน ปี
23
บริษัท A 3. การสร้างหลังคากันความร้อนให้ถังน้ำป้อน 32 ̊C 30.5 ̊C
24
คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้
บริษัท A 3. การสร้างหลังคากันความร้อนให้ถังน้ำป้อน ผลที่ประหยัดได้ 5,883 kWh/ปี คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ 16,590 บาท/ปี เงินลงทุน 20,000 บาท ระยะเวลาคืนทุน ปี
25
บริษัท A 4. การลดอุณหภูมิน้ำก่อนเข้าเครื่องผลิตน้ำแข็ง ตัวอย่าง
1.1 ̊C ตัวอย่าง ปรับปรุง
26
คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้
บริษัท A 4. การลดอุณหภูมิน้ำก่อนเข้าเครื่องผลิตน้ำแข็ง ผลที่ประหยัดได้ 11,028 kWh/ปี คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ 30,658 บาท/ปี เงินลงทุน 30,000 บาท ระยะเวลาคืนทุน ปี
27
บริษัท A 5. การปิดหลอดไฟในบริเวณที่ไม่ได้ใช้งาน
มีการเปิดไฟทิ้งไว้ตลอดเวลา
28
คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้
บริษัท A 5. การปิดหลอดไฟในบริเวณที่ไม่ได้ใช้งาน การคำนวณ จำนวนหลอดไฟ = 6 หลอด กำลังไฟฟ้าต่อหลอดรวมบัลลาสต์ = 46 วัตต์ ชั่วโมงการใช้งานที่ลดได้ต่อปี 12 x 365 = 4,380 ชม. คิดเป็นพลังงานไฟฟ้าที่ประหยัดได้ 4,380 x 6 x 46/ = 1, kWh/ปี คิดเป็นเงิน 1, x = 3, บาท/ปี ลงทุนค่าสวิตช์ = 5,000 บาท คืนทุน 5,000/3, = 1.51 ปี ผลที่ประหยัดได้ 1, kWh/ปี คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ 3, บาท/ปี เงินลงทุน 5,000 บาท ระยะเวลาคืนทุน ปี
29
บริษัท A ผลประหยัดรวม 103,159.4 บาท/ปี
30
บริษัท B จากการเข้าไปทำการสำรวจและตรวจวัด เพื่อหามาตรการในการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานพบ 5 มาตรการดังนี้ การลดลมรั่วและการเลิกใช้ระบบอัดอากาศที่ไม่เหมาะสม การตั้งค่าความดันในการผลิตอากาศอัดให้เหมาะสม การเปลี่ยนใบพัดลมของ Cooling Tower เป็นวัสดุไฟเบอร์กลาส การลดจำนวนการทำงานของมอเตอร์ การลดจำนวนการทำงานของเครื่องทำน้ำเย็น
31
บริษัท B 1. การลดลมรั่ว มาตรฐานการรั่วโดยทั่วไปในระบบที่ยอมรับได้ไม่ควรเกิน 5-10%
32
บริษัท B
33
มาตรการที่ลดพฤติกรรมการใช้อากาศอัดที่ไม่เหมาะสม
การใช้ลมกวนและเติมอากาศให้น้ำ - ปรับปรุงมาใช้ blower - ระบบเติมอากาศแบบเวนจูรี่ แทน นอกจากจะประหยัดพลังงานอากาศ ยังสามารถผสมกับน้ำได้ มากขึ้นด้วย ติดตั้งภายนอก ติดตั้งใต้น้ำ ติดตั้งกับทุ่นลอย
34
บริษัท B
35
บริษัท B
36
พฤติกรรมการใช้อากาศอัดที่ไม่เหมาะสม
บริษัท B พฤติกรรมการใช้อากาศอัดที่ไม่เหมาะสม ใช้ Blower ใช้อากาศอัด - ทำความสะอาดร่างกายโดยตรง - ทำความสะอาดเครื่องจักร
37
ลดความดันผลิตลง 1 bar ประหยัดประมาณ 7-11 %
2. การตั้งค่าความดันในการผลิตอากาศอัดให้เหมาะสม ตั้ง P ที่เครื่องอัดอากาศสูงกว่า ค่า P ใช้งานเกินความจำเป็น ลดความดันผลิตลง 1 bar ประหยัดประมาณ 7-11 %
38
บริษัท B การส่งจ่ายอากาศอัด แบบท่อแยกสาขา (Branch) แบบวงแหวน (Loop)
39
เพื่อลดการตั้งค่าความดันเครื่องอัดอากาศสูงเกินความจำเป็น
บริษัท B การใช้ Booster Pump เพิ่มระดับความดันให้สูงกว่าความดันใช้งาน เพื่อลดการตั้งค่าความดันเครื่องอัดอากาศสูงเกินความจำเป็น กรณีที่ เครื่องจักรส่วนน้อยของบริษัทต้องใช้ความดันสูงๆ
40
บริษัท B 3. การเปลี่ยนใบพัดลมของ Cooling Tower เป็นวัสดุไฟเบอร์กลาส
41
บริษัท B
42
บริษัท B 4. การลดจำนวนการทำงานของมอเตอร์ ซึ่งเกินความจำเป็น
บริษัทมี Chiller 4 ชุด ใช้งาน 2 ชุด มีมอเตอร์ปั้มน้ำเย็น 6 เครื่องเดินพร้อมกัน ซึ่งเกินความจำเป็น
43
บริษัท B วิธีการคำนวณผลการอนุรักษ์พลังงาน มาตรการลดจำนวนการทำงานของมอเตอร์
44
บริษัท B 5. การลดจำนวนการทำงานของเครื่องทำน้ำเย็น
45
บริษัท B 5. การลดจำนวนการทำงานของเครื่องทำน้ำเย็น
ประหยัดพลังงานของ Chiller 1 เครื่อง ประหยัดพลังงานของมอเตอร์ปั้มน้ำเย็น 2 เครื่อง
46
บริษัท B ผลประหยัดรวม 4,313, บาท/ปี
47
บริษัท C อุตสาหกรรมกระดาษ
จากการเข้าไปทำการสำรวจและตรวจวัด เพื่อหามาตรการในการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานพบ 3 มาตรการดังนี้ การลดลมรั่ว การลดอากาศส่วนเกิน การนำความร้อนจากไอน้ำแฟลชกลับมาใช้งาน
48
บริษัท C 1.การลดลมรั่ว
49
คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้
บริษัท C 1.การลดลมรั่ว ผลที่ประหยัดได้ 92,637 kWh/ปี คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ 277,911 บาท/ปี เงินลงทุน 3, บาท ระยะเวลาคืนทุน ปี
50
คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้
บริษัท C 2. การลดอากาศส่วนเกิน 6% ผลที่ประหยัดได้ 4, kg/ปี คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ 71, บาท/ปี เงินลงทุน 130,000 บาท ระยะเวลาคืนทุน ปี
51
บริษัท C การเผาไหม้ที่สมบูรณ์ เชื้อเพลิง %O2 ก๊าซ 3-4 เหลว 4-5 แข็ง
7-8
52
น้อยเกิน >> ควันสีดำ มากเกิน >> ควันสีขาว
บริษัท C การสังเกตด้วยตาเปล่า เหมาะสมคือ สีออกเทาๆ น้อยเกิน >> ควันสีดำ มากเกิน >> ควันสีขาว
53
บริษัท C 3. การนำความร้อนจากไอน้ำแฟลชกลับมาใช้งาน
54
คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้
บริษัท C 3. การนำความร้อนจากไอน้ำแฟลชกลับมาใช้งาน ผลที่ประหยัดได้ 45, kg/ปี คิดเป็นเงินที่ประหยัดได้ 1,227, บาท/ปี เงินลงทุน 100,000 บาท ระยะเวลาคืนทุน ปี
55
บริษัท C ผลประหยัดรวม 1,577, บาท/ปี
56
มาตรการอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศ
การจัดการพลังงานในโรงงานอุตสาหกรรม แบ่งตามลักษณะการใช้งานออกเป็น 4 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. การจัดการระบบแสงสว่าง 2. การจัดการระบบปรับอากาศ 3. การจัดการระบบอัดอากาศ 4. การจัดการพลังงานความร้อน และระบบหม้อไอน้ำ มาตรการอนุรักษ์พลังงานระบบแสงสว่าง 1. เลือกใช้หลอดไฟและอุปกรณ์ช่วยให้เหมาะสม 2. ใช้โคมไฟสะท้อนแสง เลือกความส่องสว่างและระยะเวลาการใช้งานให้เหมาะสม 3. การเดินสายและการเปิดปิดสวิทซ์หลอดไฟฟ้าให้เหมาะสม กับการใช้งาน 4. การใช้แสงธรรมชาติจากภายนอกให้เป็นประโยชน์ 5. การบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอ มาตรการอนุรักษ์พลังงานในระบบหม้อไอน้ำ 1. การปรับตั้งความดันไอน้ำใช้งานให้เหมาะสม การปรับปรุงประสิทธิภาพการเผาไหม้ 3. ซ่อมแซมการรั่วไหลของไอน้ำในระบบท่อและ steam Trap 4. นำไอน้ำที่กลั่นตัวกลับมาใช้ใหม่ การเดินหม้อไอน้ำให้เหมาะสมกับภาระ 6. การปรับคุณภาพน้ำ เพื่อลดอัตราการ Blow down 7. การบำรุงรักษาอย่างสม่ำเสมอ มาตรการอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ 1. การลดอุณหภูมิก่อนเข้าเครื่องอัดอากาศ การปรับปรุงท่อเมนส่งจ่ายอากาศอัด 3. การลดแรงดันในการผลิตอากาศอัด การลดการรั่วไหลอากาศอัด 5. การปรับปรุงถังเก็บอากาศอัด (ถังเล็กไป) 6. การจัดโหลดเครื่องอัดอากาศให้เหมาะสมความต้องการ 7. การลดพฤติกรรมการใช้อากาศอัดที่ไม่เหมาะสม 8. การใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง 9. การบำรุงรักษากรองอากาศ และชุดกรอง อย่างสม่ำเสมอ มาตรการอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศ 1. เลือกใช้เครื่องปรับอากาศประสิทธิภาพสูง ปรับตั้งอุณหภูมิในการปรับอากาศให้เหมาะสม 3. กำหนดเวลาเปิด – ปิด เครื่องปรับอากาศ ตรวจสอบรอยรั่วท่อส่งลมเย็นเป็นประจำ 5. ทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศ อย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ทำความสะอาดแผงระบายความร้อนทุก 6 เดือน
57
เทคโนโลยีหลอด LED (ต้องมีการลงทุน)
50 C 40 C 70 C 27 C 30 C
59
วางตู้เย็นห่างจากผนัง
ก่อนละลายน้ำแข็ง หลังละลายน้ำแข็ง อุณหภูมิในห้องแช่ 2.0 องศาเซลเซียส อุณหภูมิในห้องแช่ องศาเซลเซียส วางตู้เย็นติดผนัง วางตู้เย็นห่างจากผนัง กำลังไฟฟ้า วัตต์ วัตต์ ลดลง 18 %
60
ก่อนละลายน้ำแข็ง ระหว่างละลายน้ำแข็ง หลังละลายน้ำแข็ง
อุณหภูมิตู้เย็น 5.0 องศาเซลเซียส 0.0 องศาเซลเซียส กำลังไฟฟ้า วัตต์ วัตต์ วัตต์ ลดลง 12 % ร้อยละการทำงาน 0.0
61
ก่อนละลายน้ำแข็ง มีการทำงานเต็มที่ 100 %
เนื่องจากน้ำแข็งดันให้ฝาตู้เย็นเกิดรูรั่ว
62
การจัดวางอาหารให้มีช่องว่างเพื่อการประหยัดพลังงาน
ควรจัดวางอาหารให้มีช่องว่างอากาศเพื่อให้เกิดลมกระจายทั่วถึงทุกๆ ชิ้น แล้วปรับค่าอุณหภูมิห้องเย็นให้เหมาะสมกับอาหารที่จะแช่
63
การลดความชื้นภายในตู้เย็นและตู้แช่
65
การปรับอากาศเพื่อความสบาย (comfort air conditioning) คือ การปรับภาวะอากาศสำหรับผู้อาศัยในพื้นที่นั้นให้มีความรู้สึกสบาย โดยภาวะสบาย (comfort zone) อาจขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น การสวมใส่เสื้อผ้า กิจกรรรมในบริเวณนั้น ระยะเวลาอยู่ในบริเวณปรับอากาศ ความเร็วลม การเผาผลาญพลังงานของแต่ละคน วัย และเพศ เป็นต้น อย่างไรก็ตามได้มีการศึกษาถึงปัจจัยต่างๆ ที่หลากหลายเพื่อหาช่วงสภาวะอากาศที่เหมาะสม โดยทั่วไปจะอยู่ในช่วงอุณหภูมิประมาณ องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ระหว่าง 20-70%
66
เรื่องน่ารู้วิศวกรรมเครื่องกล (ระบบปรับอากาศ – ระบายอากาศ )
[ โดย......นายเกชา ธีระโกเมน อนุกรรมการประชาสัมพันธ์ สภาวิศวกร ] จะทำให้แอร์ในหน้าร้อน เย็นขึ้นได้อย่างไร เคยได้ยินโครงการ “ล้างแอร์ช่วยชาติ”ไหม การล้างแอร์ช่วยให้ การไหลเวียนของอากาศดีขึ้น แผงคอยล์สะอาด ทำให้การถ่ายเทความร้อนดี จะช่วยให้ได้ความเย็นมากขึ้น อาจจะถึง 10-15% เชียวนะ การล้างแอร์ยังช่วยลดเชื้อโรคที่หมักหมม เป็นผลดีกับสุขภาพด้วย อุณหภูมิของห้องปรับอากาศที่เหมาะสม ควรจะเป็นเท่าไร อุณหภูมิที่เหมาะสมสำหรับห้องปรับอากาศ โดยทั่วไปควรจะเป็นประมาณ 25 องศา หรือสำหรับห้องนอนเมื่อใช้งานในตอนกลางคืน ควรจะเป็นประมาณ 26 องศา เพราะในขณะที่นอน การทำงานของร่างกายจะลดลง และไม่ควรใช้ผ้าห่มที่เป็นผ้านวมหนาๆ เพราะจะทำให้ต้องปรับอากาศที่อุณหภูมิต่ำเกินจำเป็น สุดท้ายก็เปลืองไฟอีกนั้นแหละ
67
ภาระความร้อนจากภายในห้อง
68
การอนุรักษ์พลังงานระบบทำความเย็น
69
ล้างแอร์สำคัญไฉน ?
70
ปัญหาจากการติดตั้ง - ผิดตำแหน่ง
การติดตั้งท่อ Flash Steam และปล่องควันใกล้ Condensing Unit ทำให้เกิดปัญหากับระบบปรับอากาศไม่เย็น โรงงานจึงใช้น้ำฉีดเพื่อระบายความร้อนแต่ก็ยังไม่ได้ค่าความเย็นที่ต้องการ
71
ถูกต้อง ควรปรับปรุง
73
การติดตั้งห้องม่านอากาศตามมาตรฐาน GREEN OFFICE
ลดฝุ่น ลดเสียง ลดมลพิษ ห้องเย็นขึ้น ประหยัดพลังงาน
76
มาตรการสำหรับเครื่อง Computer ส่วนบุคคล
ใช้งานปกติ Screen sever ปิดหน้าจอ Sleep mode เสียบปลั๊ก เสียบปลั๊ก 14 ชั่วโมงต่อวัน เปิด 8 ชั่วโมงต่อวัน ทั้งวัน 0.80 kWh ปิดเที่ยง kWh % ปิดสวิชต์ และถอดปลั๊ก kWh % ปิดจอเมื่อไม่อยู่ที่โต๊ะทำงาน (40 นาที) -1.75%
77
แนวทางประหยัดพลังงานในระบบแสงสว่าง
1.สร้างจิตสำนึกให้พนักงานและส่งเสริมพฤติกรรมปิดไฟเมื่อไม่ใช้งาน 2.เปลี่ยนชนิดบัลลาสต์ , DIMMER , Moving Sensor 3.การเปลี่ยนชนิดหลอดไฟ 4.ลดค่าความสว่างในส่วนที่แสงสว่างมีค่าสูงกว่ามาตรฐาน
78
แนวทางประหยัดพลังงานในพื้นที่ทำงาน
1. การสร้างจิตสำนึกให้พลังงานและส่งเสริมพฤติกรรมปิดไฟเมื่อไม่ใช้งาน การรณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้พนักงานมีส่วนร่วมในการช่วยองค์กรประหยัดพลังงานเช่นการแจ้งข้อมูลข่าวสารและรณรงค์ผ่านบอร์ดประชาสัมพันธ์ ติดสติกเกอร์ เสียงตามสาย “ตัวไปไฟดับ – ปิดไฟและเครื่องใช้ไฟฟ้าเมื่อไม่ใช้งาน” ซึ่งมาตรการนี้อาจส่งเสริมร่วมกับการติดตั้งสวิตช์กระตุก และให้พนังงานดับไฟในเวลาพักกลางวัน หรือช่วงที่ไม่มีการใช้งานอุปกรณ์ จะสามารถประหยัดพลังงานได้อย่างน้อย 1 ชั่วโมงต่อวัน หรือประมาณ 13 % - สวิทช์กระตุก ราคา 35 บาท/ชุด - สวิทช์รีโมท ราคา 150 บาท/ชุด
79
แนวทางประหยัดพลังงานในพื้นที่ทำงาน
การสร้างจิตสำนึกให้พลังงานและส่งเสริมพฤติกรรมปิดไฟเมื่อไม่ใช้งาน
80
แนวทางประหยัดพลังงานในพื้นที่ทำงาน
81
จุดเด่นของหลอดไฟ LED หลอด LED มีความสูญเสียในรูปของความร้อนต่ำทำให้ช่วยลดค่าไฟฟ้าของเครื่องปรับอากาศได้ และประสิทธิภาพของ LED CHIP มีค่าสูงขึ้นทำให้สามารถให้แสงได้มากขึ้นกรณีที่อยู่ในที่เย็น แต่หากเป็นหลอดฟลูออเรสเซ็นต์จะมีประสิทธิภาพการให้แสงลดลงเมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมที่เย็นขึ้น อายุการใช้งานหลอด LED ยืนยาวมีค่าดำรงลูเมน L70 ที่ 40,000 ชั่วโมง (ข้อมูลจากผู้ผลิต : สามารถใช้งานได้ 10 ปี) ขณะที่หลอดฟลูออเรสเซ็นต์มี L70 ที่ 10,000 ชั่วโมง และอายุการใช้งานที่ 15,000 ชั่วโมง
82
แนวทางประหยัดพลังงานในพื้นที่ทำงาน
ตัวอย่างการใช้หลอด LED สปอท์ไลท์ 100 วัตต์ โคม LED 10 วัตต์
83
ตัวอย่างการใช้หลอด LED
หลอดไฟ LED จะมีรังสี UV ต่ำทำให้สามารถยืดอายุชิ้นงานศิลปะ และไม่ทำให้พลาสติกเสียสภาพเหลืองกรอบ โดยสามารถประหยัดพลังงาน ได้มากกว่า 70 %
84
ร่วมมือ ร่วมใจ ประหยัดพลังงาน
โครงการ ร่วมมือ ร่วมใจ ประหยัดพลังงาน ด้วย 5 ส.
85
วิธีการดำเนินงาน ประชุมชี้แจงวัตถุประสงค์และวางแผนในการดำเนินโครงการ แบ่งโซนพื้นที่ในการรับผิดชอบ
86
แนวทางการปฏิบัติ ประหยัดพลังงาน พลังงานคน พลังงานไฟฟ้า พลังงานน้ำ
การแยกขยะให้ถูกต้อง
87
พลังงานคน กิจกรรม พายสอด ปลอดภัย ประหยัดแรงคนในการปฏิบัติได้ร้อยละ 50
สภาพปัญหา กิจกรรม พายสอด ปลอดภัย ประหยัดแรงคนในการปฏิบัติได้ร้อยละ 50 อัตราการเกิดเสี้ยนทิ่มตำมือบุคลากรเป็นศูนย์ ลดอาการปวดหลังจากการปูเตียง ร้อยละ 50 ความพึงพอใจของบุคลากรมากกว่าร้อยละ 95
88
พลังงานน้ำ กดชักโครก 1 ครั้ง ใช้น้ำ 3 ลิตร
ขวดทดน้ำในชักโครก โดยใช้ขวดน้ำ 1.5 ลิตรแทนที่ จะประหยัดน้ำไปได้ 1.5 ลิตร เท่ากับลดการใช้น้ำไปได้ร้อยละ 50
89
พลังงานน้ำ ขีดก๊อกน้ำ เปิดก๊อกน้ำสุดในเวลา 1 นาที ใช้น้ำไปทั้งหมด 6 ลิตร ถ้าเปิดน้ำตามขีดที่กำหนดในเวลา 1 นาที ใช้น้ำ 2.8 ลิตร เท่ากับประหยัดน้ำไปได้ร้อยละ 53
90
การคัดแยกขยะ หลัก 3R รูปภาพการคัดแยกขยะ Reduce กระดาษสองหน้า
Reuse จุกปิด suction จากถุงอาหารสายยาง Recycle กล่องจากสติ๊กเกอร์ยา
91
การคัดแยกขยะ โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงิน
93
การคัดแยกขยะ โครงการเปลี่ยนขยะเป็นเงิน นำเงินที่ได้ไปใช้ สวัสดิการ ขวัญกำลังใจเช่น จัดงานปีใหม่ เลี้ยงอาหารวันประชุม
94
พลังงานไฟฟ้า
95
การชาร์ตแบตเตอรี่เครื่องมือแพทย์ ตามหลัก TOU
พลังงานไฟฟ้า การชาร์ตแบตเตอรี่เครื่องมือแพทย์ ตามหลัก TOU Before After ทำการชาร์ตแบตเตอรี่ เครื่องมือแพทย์ เวลา – น. ทุกวันจันทร์ ทำการชาร์ตแบตเตอรี่ เครื่องมือแพทย์ เวลา ของวันอาทิตย์ จนถึง น. ของวันจันทร์
96
การชาร์ตแบตเตอรี่เครื่องมือแพทย์ ตามหลัก TOU
97
กิจกรรมการพัฒนา 1. เสนอโครงการกับหัวหน้าหอผู้ป่วยไอซียูศัลยกรรมทรวงอก หัวใจและหลอดเลือด 2. กำหนดกิจกรรมประหยัดไฟฟ้า ดังนี้ 2.1 ปิดไฟที่ไม่ได้ใช้ช่วงเวรดึก ตั้งแต่เวลา น. ได้แก่ ไฟกลางไอซียู ไฟห้องคลังน้ำเกลือ ไฟห้องเก็บอุปกรณ์การแพทย์ ไฟห้องคลังเวชภัณฑ์ โดยพยาบาลหัวหน้าเวรดึก
98
2. 2 ปิดหน้าจอคอมพิวเตอร์โต๊ะเสมียน และโต๊ะแพทย์ ตั้งแต่เวลา 00. 00-05
2.2 ปิดหน้าจอคอมพิวเตอร์โต๊ะเสมียน และโต๊ะแพทย์ ตั้งแต่เวลา น. โดยพยาบาลหัวหน้าเวรดึก
100
Thank you for your attention
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.