การป้องกันและระงับอัคคีภัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การป้องกันและระงับอัคคีภัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การป้องกันและระงับอัคคีภัย

2 ความปลอดภัย ด้านอัคคีภัย
องค์ประกอบของไฟ ประเภทของไฟ เครื่องดับเพลิงขั้นต้น หลักการดับเพลิง ข้อควรปฏิบัติในกรณีฉุกเฉิน

3 เมื่อเกิดเพลิงไหม้ จะทำอย่างไร
เมื่อเกิดเพลิงไหม้ จะทำอย่างไร

4 เมื่อเกิดเพลิงไหม้ จะทำอย่างไร

5 ออกซิเจน ไฟ ความร้อน เชื้อเพลิง การสันดาป หรือ การเผาไหม้ (Combustion)
คือ ปฏิกิริยาเคมีที่เกิดจากการรวมตัวของเชื้อเพลิงกับออกซิเจน ซึ่งเป็นผลให้เกิดความร้อนและแสงสว่าง กับสภาพการเปลี่ยนแปลง เชื้อเพลิง ออกซิเจน ความร้อน ไฟ สามเหลี่ยมของไฟ องค์ประกอบของไฟ 1. เชื้อเพลิง 2. ความร้อน 3. ออกซิเจน

6 ไฟ ความร้อน ออกซิเจน ทฤษฎีปิรามิดของไฟ ทฤษฎีสามเหลี่ยมของไฟ ความร้อน
เชื้อเพลิง ออกซิเจน ความร้อน ไฟ สามเหลี่ยมของไฟ ทฤษฎีสามเหลี่ยมของไฟ 1. เชื้อเพลิง 2 ความร้อน 3. ออกซิเจน ปฏิกิริยา ลูกโซ่ เชื้อเพลิง ความร้อน ออกซิเจน ปิรามิดของไฟ ทฤษฎีปิรามิดของไฟ 1. เชื้อเพลิง 2 ความร้อน 3. ออกซิเจน 4. ปฏิกิริยาลูกโซ่ ลุกไหม้ต่อเนื่อง

7 เชื้อเพลิง ความร้อน ออกซิเจน ปฏิกิริยาลูกโซ่
1. สารอินทรีย์เคมี เป็นสารที่มาจากสิ่งที่มี ชีวิต และมีส่วนประกอบคาร์บอนเสมอ ได้แก่ ไม้ หญ้า กระดาษ เสื้อผ้า 2. สารอนินทรีย์เคมี เป็นสารที่ไม่ได้เกิด จากสิ่งมีชีวิต และไม่มีส่วนประกอคาร์บอน ได้แก่ สารเคมีต่าง ๆ สถานะของเชื้อเพลิง ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ ความร้อน เป็นสิ่งที่ทำให้อุณหภูมิของเชื้อเพลิงสูงขึ้น ถึงจุดติดไฟของเชื้อเพลิงนั้น ๆ ออกซิเจน ในบรรยากาศทั่วไปมีออกซิเจน ประมาณ 21 % ในการเผาไหม้ ตัองการออกซิเจน ตั้งแต่ 16 % ปฏิกิริยาลูกโซ่ เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากการลุกติดไฟอย่างต่อเนื่อง ขององค์ประกอบทั้ง 3 อย่าง ที่หนุนเนื่องกันอยู่

8 ประเภทของไฟ สัญลักษณ์อักษร A B C D D K สัญลักษณ์รูปภาพ (NFPA)
เพลิงที่เกิดจาก ฟืน ยาง ไม้ กระดาษ ผ้า หญ้า A เพลิงที่เกิดจาก น้ำมันเชื้อเพลิง และแก๊สหุงต้ม B C เพลิงที่เกิดจาก ไฟฟ้า และอุปกรณ์อีเลคโทรนิคส์ D D เพลิงที่เกิดจาก โลหะติดไฟ หรือโลหะผสม เพลิงที่เกิดจาก น้ำมันจากสัตว์ และไขมัน (NFPA) K

9 อันตรายจากไฟไหม้ A A A - ระงับเหตุด้วยความรวดเร็ว - หนีจากจุดเกิดเหตุให้เร็ว A - ไฟไหม้ขั้นต้น - ไฟไหม้ขั้นปานกลาง - ไฟไหม้ขั้นรุนแรง

10 สาเหตุการเกิดเพลิงไหม้
1. ไฟฟ้าลัดวงจร 23 % 2. การสูบบุหรี่หรือการจุดไฟ 18 % 3. การเสียดสีหรือเสียดทาน 10 % 4. อุปกรณ์ได้รับความร้อน 8 % 5. ผิวโลหะที่ร้อนจัด 7 % 6. เปลวไฟไม่มีสิ่งปกคลุม 7 % 7. การเชื่อมและการตัดโลหะ 4 % 8. การลุกไหม้ด้วยตนเอง 4 % 9. การวางเพลิง 3 % 10. ประกายไฟจากเครื่องจักร 3 % 11. โลหะหรือวัตถุหลอมเหลว 2 % 12. ไฟฟ้าสถิตย์ 2 % 13. ปฏิกิริยาของสารเคมี 1 % 14. บรรยากาศที่มีสิ่งปนเปื้อน 1 % 15. สาเหตุอื่น ๆ ที่ไม่สามารถระบุได้ 5 %

11 สาเหตุการเกิดเพลิงไหม้

12 3. การลดอุณหภูมิ (ลดความร้อน)
หลักการดับเพลิง 1. การกำจัดเชื้อเพลิง 1.1 การเคลื่อนย้ายเชื้อเพลิงออก หรือตัดการหนุนเนื่องเชื้อเพลิง 1.2 การเคลื่อนย้ายเชื้อเพลิงที่ติดไฟ ออกจากกองไฟ 2. การกำจัดออกซิเจน 2.1 การใช้ก๊าซเฉื่อย ไปลดจำนวนออกซิเจน 2.2 การใช้สิ่งที่ผนึกอากาศ คลุมเชื้อเพลิงไว้ 3. การลดอุณหภูมิ (ลดความร้อน) 3.1 การใช้น้ำ ลดความร้อนที่เชื้อเพลิง 4. การตัดปฏิกิริยาลูกโซ่ 4.1 การใช้สารเคมี เข้าแทนที่ออกซิเจน

13 1. การดับเพลิงประเภท A 2. การดับเพลิงประเภท B 3. การดับเพลิงประเภท C
การดับเพลิงประเภทต่าง ๆ 1. การดับเพลิงประเภท A - ใช้วิธีการลดอุณหภูมิ - น้ำ เป็นสารดับเพลิงที่เหมาะสม 2. การดับเพลิงประเภท B - ใช้วิธีการกำจัดออกซิเจน หรือการปิดกั้นออกซิเจน - ก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ และน้ำยาเหลวระเหย (ฮาลอน) เป็นสารดับเพลิงที่เหมาะสมกับเพลิงที่อยู่ในภาชนะเปิด - โฟม เป็นสารดับเพลิงที่เหมาะกับเชื้อเพลิงเหลว 3. การดับเพลิงประเภท C - ใช้วิธีการกำจัดออกซิเจน หรือการตัดปฏิกิริยาลูกโซ่ (กรณีที่มีกระแสไฟฟ้าอยู่) - ใช้วิธีลดอุณหภูมิ (กรณีสามารถตัดกระแสไฟฟ้าได้แล้ว) - ก๊าซคาร์บอนไดออกไซค์ และน้ำยาเหลวระเหย เป็นสารดับเพลิงที่เหมาะสม 4. การดับเพลิงประเภท D - ใช้วิธีการกำจัดออกซิเจน - ใช้ผงแห้ง หรือทรายแห้ง เป็นสารดับเพลิงที่เหมาะสม

14 เครื่องดับเพลิงชนิดหิ้วเคลื่อนที่ได้
Portable Fire Extinguisher สามารถยกเคลื่อนที่ได้ด้วยกำลังคน เพียงหนึ่งหรือสองคน ใช้ได้ดีเมื่อเริ่มเกิดเพลิง หรือเพลิงขนาดเล็ก มีขนาด 2, 5, 10, 15, 20 ปอนด์

15 เครื่องดับเพลิงชนิดต่างๆ
1 2 3 4 5 6 7 8 น้ำ โฟม เคมีแห้ง ซีโอทู ฮาลอน ผ้าคลุมไฟ ฮาโลไนท์ เคมีเหลว

16 เทคนิคการใช้งานถังดับเพลิง
ทำการปลดสายฉีดออกจากที่เก็บ แล้วทดสอบ ทำการดึงล๊อกวาล์ที่หัวถัง ดึง ปลด กด ส่าย ทำการกดก้านบีบชิ้นบนลงหาชิ้นล่าง ณ จุดที่เกิดเพลิงไหม้ ขณะฉีดสารดับเพลิงไปที่ฐานของเพลิง ต้องส่ายสายฉีดไปมา

17 วิธีการตรวจสอบถังดับเพลิง
สังเกตเข็มในมาตรวัดความดัน เข็มชี้ในช่องสี เขียวหรือค่อนไปทางด้าน OVERCHARGE (ขวามือ ) แสดงว่าเครื่องอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน (ตามรูปที่ 1) ในกรณีเข็มในมาตรวัดความดัน เข็มชี้ไปทาง ด้าน RECHARGE (ซ้ายมือ) แสดงว่าเครื่องผิดปกติ ต้อง ทำการบรรจุใหม่ (ตามรูปที่ 2) 1, 3, 6 ภายใน 6 เดือน 1 ครั้ง รูปที่ 1 รูปที่ 2 เครื่องดับเพลิงพร้อมใช้งาน เครื่องไม่พร้อมใช้งาน ขัดข้อง

18 น้ำดับเพลิงในอาคาร Hose – Reel Hose – Rack

19 การดับเพลิงอย่างปลอดภัย
- ขนาดของไฟ - ชนิดของถังดับเพลิง - สภาพพื้นที่เกิดเพลิงไหม้ สภาพความปลอดภัยของตัวเอง ความมั่นใจ

20 ตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย
ข้อควรปฏิบัติ เมื่อเข้าพักในโรงแรม สำรวจจุดติดตั้งอุปกรณ์ดับเพลิง สำรวจแผนผังทางหนีไฟ สำรวจและตรวจสอบทางหนีไฟ ควรมีไฟฉาย ภายในห้องพัก ตรวจสอบอุปกรณ์ป้องกันอัคคีภัย ภายในห้องพัก

21 ข้อควรปฏิบัติ กด โทร ดับ หนี เมื่อพบเหตุเพลิงไหม้
โทร. แจ้งหน่วยดับเพลิง กดอุปกรณ์แจ้งเหตุ บริเวณใกล้เคียง กด โทร ดับ หนี ห้ามใช้ลิฟท์ในการหนีไฟ ถ้าดับเพลิงไม่ได้ ต้องหนีออกมาจากพื้นที่นั้น ถ้าเพลิงมีขนาดเล็ก ใช้ถังดับเพลิงดับทันที

22 ในกรณีที่เส้นทางมีควัน
ข้อควรปฏิบัติ เมื่อได้ยินสัญญาณแจ้งเหตุเตือน อพยพออกจากพื้นที่ หลีกเลี่ยงเส้นทางที่มีควัน อย่าตื่นเต้น ตกใจ ! อย่าห่วงทรัพย์สิน ในกรณีที่เส้นทางมีควัน ใช้วิธีหมอบราบและคลานบนพื้น หรือใช้ถุงพลาสติกใส คลุมศีรษะ ภายในบันไดหนีไฟ ห้ามวิ่ง ใช้วิธีเดินเร็ว

23 การอพยพหนีไฟ การอพยพ ผู้นำทางหนีไฟ ผู้ตรวจนับ อย่างน้อย 2 คน ( )
นำคนออกจากอาคารไปจุดรวมพล ผู้ตรวจนับ นับจำนวนคนแล้วรายงานต่อผู้อำนวยการดับเพลิง

24 เมื่อใด ไปทางไหน การอพยพหนีไฟ พบเห็น จากการบอก จากสัญญาณแจ้งเหตุ
เสียง(กระดิ่ง,แตร,ลำโพง,ออด) แสง(ไฟกระพริบ) ไปทางไหน เส้นทางหนีไฟ

25 ขั้นตอนการหนีไฟ (Evacuation Procedure )
เส้นทางหนีไฟ ลักษณะสัญญาณเตือนภัย การมอบหมายเจ้าหน้าที่ ผู้ตรวจพื้นที่ในการหนีไฟ ผู้นำทางหนีไฟ ผู้นำทางสำรอง การกำหนดจุดนัดพบ จัดรถปฐมพยาบาล พนักงานทุกคนต้องผ่านการอบรมการหนีไฟ และฝึกซ้อมปีละ1 ครั้ง จุดรวมพล มองเห็นได้ง่าย เข้าถึงอย่างสะดวก เป็นที่รู้จักของคนทั่วไป เป็นที่ปลอดภัย

26 ข้อปฏิบัติในการอพยพหนีไฟ
1. อย่าใช้ลิฟท์เป็นทางหนีไฟ 2. อย่าใช้บันไดขึ้น-ลง ปกติ หรือทางออกฉุกเฉินที่อยู่ใกล้ บริเวณไฟไหม้ 3. อย่าตะโกนหรือวิ่ง 4. หากผู้ที่มาติดต่องานกับท่านไปด้วย 5. ให้ทุกคนเดินตามทางออกฉุกเฉินที่มีสัญญลักษณ์แสดง 6. เมื่อออกพ้นอาคารให้ไปรวมอยู่ที่จุดรวมพล

27 บัญญัต 10 ประการในอาคารสูง ( ข้อควรปฏิบัติเมื่อพักอาศัยในอาคารสูง )
Tentips in High rise building 1. สำรวจตรวจตรา Prepare 2. หาทางหนี Familiar 3. มีการซ้อม Practice 4. พร้อมแจ้งภัย Alarm 5. รีบเผ่นหนี Escape 6. ปิดมิดชิด Close the door 7. อย่าสับสน Stay calm 8. หาคนช่วย Think safe 9. ช่วยตนเอง Crawl law 10. เฮง หรือ ซวย Plan best

28 ตรวจสอบความร้อนที่ประตู เมื่ออพยพออกมาได้แล้ว ส่งสัญญาณขอความช่วยเหลือ
ข้อควรปฏิบัติ กรณีฉุกเฉิน ถ้าไม่สามารถอพยพได้ - ปิดประตูและหน้าต่าง - ใช้ผ้าชุบน้ำอุดตามช่องว่าง ตรวจสอบความร้อนที่ประตู ก่อนออกจากห้อง หากร้อนผิดปกติ เปลี่ยนเส้นทางใหม่ โทร. แจ้งหน่วยดับเพลิง เมื่ออพยพออกมาได้แล้ว รายงานตัวกับ จนท. ที่จุดรวมพล ส่งสัญญาณขอความช่วยเหลือ ใช้ผ้าขาว หรือไฟฉาย

29 ข้อควรปฏิบัติ กรณีไฟไหม้เสื้อผ้าที่สวมใส่ หยุด ! ห้ามวิ่ง
ล้มตัวลง นอนราบกับพื้น ใช้มือปิดหน้า และแขนแนบชิดลำตัว กลิ้งตัวทับไฟ ไป / มา

30

31


ดาวน์โหลด ppt การป้องกันและระงับอัคคีภัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google