ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยLiliana Maggio ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
* แนะนำตัว * ก่อนเริ่มสอนผมขออนุญาตแนะนำหน่วยตัวเองก่อน ทายว่าคือรูปอะไร ความหมาย : รูปพระนารายณ์ปางรามาวตารยืนอยู่เหนือเมฆในท่าน้าวศร แสดงถึงความเป็นยอดนักรบ พระนารายณ์ หรือ พระวิษณุถือว่าเป็นผู้ถนอมโลก ทำหน้าที่เสมือนแม่ทัพ หรือวีรบุรุษประจำสรวงสวรรค์ มีฤทธิ์อำนาจมาก ถ้าไม่ได้ออกรบต้องลงไปนอนใต้บาดาล เป็นที่มาของร่างนารายณ์บรรทมสินธุ์ - อวตารลงมาปราบยุคเข็ญซึ่งทำหน้าที่ด้านยุทธการของสรวงสวรรค์ ตำนานการอวตารเรียกกันว่าพระนารายณ์สิบปาง อวตารเป็น พระราม นรสิงห์ พระพุทธเจ้า - ทั้งนี้ พระนารายณ์ปางรามาวตาร(ร่างเขียว)เป็นปางที่มีลักษณะสง่างามน่าเลื่อมใสมากกว่าปางอื่น ๆ และมีศรเป็นอาวุธ เคยอ่านพบว่าเป็นภาพนารายณ์ทรงปืน - อธิบายคำว่าปืน เครื่องหมายราชการของกรมยุทธการทหารบกได้ประกาศลงในหนังสือ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 87 ตอนที่ 77 ลง 18 สิงหาคม 2513 หน้า 55
2
พ.อ. กรพล วนากมล ตำแหน่ง - ผบ.มว.ปล., รอง ผบ.ร้อย. ร.๗ พัน.๑
ผู้อำนวยการกองการจัด สำนักนโยบายและแผน กรมยุทธการทหารบก ตำแหน่ง - ผบ.มว.ปล., รอง ผบ.ร้อย. ร.๗ พัน.๑ - อจ.วิชายุทธวิธี รร.ร.ศร. - อจ.วิชาการจู่โจมและส่งทางอากาศ รร.ร.ศร. การศึกษา - โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ - โรงเรียนเตรียมทหาร รุ่น ๓๑ - โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า รุ่น ๔๒ การฝึก - หลักสูตรจู่โจม รร.ร.ศร., หลักสูตรส่งทางอากาศ รร.สพศ.ศสพ. - ผู้นำอากาศยานหน้า คปอ.ทอ. - ครูการรบในพื้นที่ป่า ค่ายฝึกการรบคานังกร้า ออสเตรเลีย - ชั้นนายร้อย/นายพันทหารราบ รร.ร.ศร. - ชั้นนายร้อย/นายพันทหารราบ โรงเรียนทหารราบสหรัฐ - โรงเรียนเสนาธิการทหารบก หลักสูตรหลักประจำชุดที่ ๘๒ * แนะนำตัว * ก่อนเริ่มสอนผมขออนุญาตแนะนำหน่วยตัวเองก่อน ทายว่าคือรูปอะไร ความหมาย : รูปพระนารายณ์ปางรามาวตารยืนอยู่เหนือเมฆในท่าน้าวศร แสดงถึงความเป็นยอดนักรบ พระนารายณ์ หรือ พระวิษณุถือว่าเป็นผู้ถนอมโลก ทำหน้าที่เสมือนแม่ทัพ หรือวีรบุรุษประจำสรวงสวรรค์ มีฤทธิ์อำนาจมาก ถ้าไม่ได้ออกรบต้องลงไปนอนใต้บาดาล เป็นที่มาของร่างนารายณ์บรรทมสินธุ์ - อวตารลงมาปราบยุคเข็ญซึ่งทำหน้าที่ด้านยุทธการของสรวงสวรรค์ ตำนานการอวตารเรียกกันว่าพระนารายณ์สิบปาง อวตารเป็น พระราม นรสิงห์ พระพุทธเจ้า - ทั้งนี้ พระนารายณ์ปางรามาวตาร(ร่างเขียว)เป็นปางที่มีลักษณะสง่างามน่าเลื่อมใสมากกว่าปางอื่น ๆ และมีศรเป็นอาวุธ เคยอ่านพบว่าเป็นภาพนารายณ์ทรงปืน - อธิบายคำว่าปืน เครื่องหมายราชการของกรมยุทธการทหารบกได้ประกาศลงในหนังสือ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 87 ตอนที่ 77 ลง 18 สิงหาคม 2513 หน้า 55
3
พ.อ. กรพล วนากมล นายทหารปฏิบัติการ ประจำกรมยุทธการทหารบก ราชการสนาม
พ.อ. กรพล วนากมล นายทหารปฏิบัติการ ประจำกรมยุทธการทหารบก ราชการพิเศษ - ร้อย ร.๔๗๑๑ บ้านดอยลาง อ.แม่อาย จว.เชียงใหม่ - ร้อย ร.๔๗๑๒ บ้านท่าตาฝั่ง อ.แม่สะเรียง จว.แม่ฮ่องสอน - นายทหารปฏิบัติการ กอ.สสส.จชต. อ.ยะรัง จว.ปัตตานี - ผู้สังเกตการณ์สหประชาชาติ UNMIS Rumbek Team Site, Sector II ประเทศซูดาน - นายทหารปฏิบัติการ ศูนย์ปฏิบัติการกองทัพบก ราชการสนาม ร้อย ร.๔๗๑๑ บ้านดอยลาง อ.แม่อาย จว.เชียงใหม่ ร้อย ร.๔๗๑๒ บ้านท่าตาฝั่ง อ.แม่สะเรียง จว.แม่ฮ่องสอน นายทหารปฏิบัติการ ศปก.ทบ. * แนะนำตัว * ก่อนเริ่มสอนผมขออนุญาตแนะนำหน่วยตัวเองก่อน ทายว่าคือรูปอะไร ความหมาย : รูปพระนารายณ์ปางรามาวตารยืนอยู่เหนือเมฆในท่าน้าวศร แสดงถึงความเป็นยอดนักรบ พระนารายณ์ หรือ พระวิษณุถือว่าเป็นผู้ถนอมโลก ทำหน้าที่เสมือนแม่ทัพ หรือวีรบุรุษประจำสรวงสวรรค์ มีฤทธิ์อำนาจมาก ถ้าไม่ได้ออกรบต้องลงไปนอนใต้บาดาล เป็นที่มาของร่างนารายณ์บรรทมสินธุ์ - อวตารลงมาปราบยุคเข็ญซึ่งทำหน้าที่ด้านยุทธการของสรวงสวรรค์ ตำนานการอวตารเรียกกันว่าพระนารายณ์สิบปาง อวตารเป็น พระราม นรสิงห์ พระพุทธเจ้า - ทั้งนี้ พระนารายณ์ปางรามาวตาร(ร่างเขียว)เป็นปางที่มีลักษณะสง่างามน่าเลื่อมใสมากกว่าปางอื่น ๆ และมีศรเป็นอาวุธ เคยอ่านพบว่าเป็นภาพนารายณ์ทรงปืน - อธิบายคำว่าปืน เครื่องหมายราชการของกรมยุทธการทหารบกได้ประกาศลงในหนังสือ ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 87 ตอนที่ 77 ลง 18 สิงหาคม 2513 หน้า 55 ผู้สังเกตการณ์สหประชาชาติ UNMIS ประเทศซูดาน นายทหารปฏิบัติการ กอ.สสส.จชต. อ.ยะรัง จว.ปัตตานี
4
โครงสร้างการจัดกองทัพบก
24/01/63 โครงสร้างการจัดกองทัพบก ภารกิจของ ทบ. ตามกฎหมายต้องอ้างตาม กฎหมายหลักของชาติคือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๕๐ ที่แทน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๔๐ แบ่งย่อยตามกฎหมายลูกที่ออกมาเพื่อรองรับการดำเนินการต่าง ไม่ว่าจะเป็น พรบ. พรฎ. พรก. กฎกระทรวง ข้อบังคับกระทรวง ตามลำดับ ก่อนที่จะกล่าวถึงหน้าที่ของ กห. อาจานขออธิบายลำดับศักย์ของกฎหมายก่อน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เป็นกฎหมายลำดับศักดิ์สูงสุดแห่งราชอาณาจักรไทย กฎหมายอื่นใดจะขัดหรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญไม่ได้ รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครองของประเทศ ซึ่งตั้งแต่ปีพ.ศ ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญแล้วทั้งสิ้น 18 ฉบับ อันแสดงให้เห็นถึงความขาดเสถียรภาพทางการเมือง กฎหมายพระราชบัญญัติ หรือรัฐบัญญัติ คือบทกฎหมายที่ใช้บังคับอยู่เป็นประจำตามปรกติ เพื่อวางระเบียบบังคับความประพฤติของบุคคลรวมทั้งองค์กรและเจ้าหน้าที่ ของรัฐเป็นบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่มีฐานะสูงกว่าบทกฎหมายอื่น ๆ นอกจากรัฐธรรมนูญ การตราพระราชบัญญัตินั้นจะทำได้ก็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา และเมื่อพระมหากษัตริย์ได้ทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษาแล้ว ก็มีผลใช้บังคับเป็นกฎหมายได้ - พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญที่ตราขึ้นในรูปแบบพระราชบัญญัติ ซึ่งรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยได้บัญญัติให้มีขึ้นอีกรูปแบบหนึ่งในระบบบทกฎหมายไทย เพื่อกำหนด รายละเอียดซึ่งเป็นกฎเกณฑ์สำคัญเพิ่มเติมบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญฯ บางมาตราที่บัญญัติ หลักการไว้อย่างกว้าง ๆ ในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ให้มีความกระจ่างแจ้ง ชัดเจนและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น โดยไม่ต้องบัญญัติไว้ในตัวบทแห่งรัฐธรรมนูญให้มีความยาวมากเกินไป และเพื่อที่จะได้สะดวก แก่การแก้ไขเพิ่มเติม - กฎหมายพระราชกำหนด หรือรัฐกำหนด (emergency decree) เป็นกฎหมายที่ตราขึ้นโดยฝ่ายบริหารในสถานการณ์อันมีความจำเป็นรีบด่วนเพื่อประโยชน์แห่งรัฐแล้วแต่ กำหนดไว้ในกฎหมายแม่ของแต่ละประเทศ พระราชกำหนดมีอำนาจบังคับเช่นพระราชบัญญัติอันตราขึ้นโดย ฝ่ายนิติบัญญัติ กฎหมายพระราชกฤษฎีกา คือ บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นโดยอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนด เพื่อใช้ในการ บริหารราชการแผ่นดิน โดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี มีศักดิ์ต่ำกว่ารัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ ประมวลกฎหมาย และพระราชกำหนด การตราพระราชกฤษฎีกา รัฐมนตรีซึ่งมีหน้าที่เกี่ยวข้องจะอาศัยอำนาจตามรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนดนั้นๆ เสนอร่างพระราช กฤษฎีกาต่อคณะรัฐมนตรีให้พิจารณา โดยร่างพระราชกฤษฎีกานั้น จะต้องไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ หรือพระราชกำหนดที่เกี่ยวข้อง - กฎหมายอื่นๆ เช่น กฎกระทรวง คำสั่งกระทรวง ประกาศกระทรวง เป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษรประเภทหนึ่งของประเทศไทย ซึ่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงตราขึ้นโดย อาศัยอำนาจตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติ หรือแห่งกฎหมายที่มีฐานะเสมอกัน - ก่อนที่กระผมจะเข้าสู่บทเรียนซึ่งที่กล่าวถึง ทบ.ในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งขององค์กรภาครัฐ โดยมีกฎหมายรัฐธรรมนูญ พรบ.พรฎ. ต่างๆรองรับ แต่ ทบ.ในภาพของสถาบันหลักซึ่งมีคู่กับการกำเนิดของรัฐไทยมาตั้งแต่เริ่ม และมีบทบาทสำคัญในการรักษาความเป็นชาติไทยมาโดยตลอด จึงอยากให้นายทหารนักเรียนทุกท่านตระหนักถึงความสำคัญในข้อนี้ และที่สำคัญคือเป็นสถาบันหลักที่ค้ำจุนสถาบันกษัตริย์ 24/01/63 4 4
5
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๗๗
รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่งเขตอำนาจรัฐ และต้องจัดให้มีกำลังทหาร อาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย จำเป็น และเพียงพอ เพื่อพิทักษ์รักษาเอกราช อธิปไตย ความมั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย์ ผลประโยชน์แห่งชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และเพื่อการพัฒนาประเทศ อ่าน ความตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๗๗ ตราไว้ว่า บลาๆๆๆๆ เน้น ตรงพิทักษ์สถาบันกษัตริย์ เน้น ยป.พอเพียงทันสมัย เน้น พัฒนาประเทศ ที่เพิ่มมาจากรัฐธรรมนูญปี ๔๐ มาตรา ๗๒ รัฐต้องจัดให้มีกำลังทหารไว้เพื่อพิทักษ์รักษาเอกราช ความมั่นคง ของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย์ ผลประโยชน์แห่งชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และเพื่อการพัฒนาประเทศ แต่ละรัฐจะกล่าวไว้ไม่เหมือนกัน เช่น วาติกัน รัฐในอารักขาต่างๆ หรือ รัฐที่ถูกจำกัดสิทธิ เช่น ญี่ปุ่น 24/01/63 5
6
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๗๒
พุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๗๗ รัฐต้องจัดให้มีกำลังทหารไว้ เพื่อพิทักษ์รักษาเอกราช ความมั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย์ ผลประโยชน์แห่งชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และเพื่อการพัฒนาประเทศ รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์ เอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่งเขตอำนาจรัฐ และต้องจัดให้มีกำลังทหารอาวุธยุทโธปกรณ์ และเทคโนโลยีที่ทันสมัย จำเป็นและเพียงพอ เพื่อพิทักษ์รักษาเอกราช อธิปไตย ความมั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย์ ผลประโยชน์แห่งชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และเพื่อการพัฒนาประเทศ อ่าน ความตาม รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๕๐ มาตรา ๗๗ ตราไว้ว่า บลาๆๆๆๆ เน้น ตรงพิทักษ์สถาบันกษัตริย์ เน้น ยป.พอเพียงทันสมัย เน้น พัฒนาประเทศ ที่เพิ่มมาจากรัฐธรรมนูญปี ๔๐ มาตรา ๗๒ รัฐต้องจัดให้มีกำลังทหารไว้เพื่อพิทักษ์รักษาเอกราช ความมั่นคง ของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย์ ผลประโยชน์แห่งชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และเพื่อการพัฒนาประเทศ แต่ละรัฐจะกล่าวไว้ไม่เหมือนกัน เช่น วาติกัน รัฐในอารักขาต่างๆ หรือ รัฐที่ถูกจำกัดสิทธิ เช่น ญี่ปุ่น 24/01/63 6
7
พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ.๒๕๕๑
พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการ กระทรวงกลาโหม พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ.๒๕๕๑ แทน พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ.๒๕๐๓ จากมาตรา 77 ตามความรัฐธรรมนูญ กห.จึงได้เสนอยกร่าง พรบ.จัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ.2551 ที่ออกมาให้สอดคล้องกับ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๕๐ และใช้แทน พรบ เดิม อายุ ๔๘ ปี แก้ไขเพิ่มเติม ๖ ฉบับ เพื่อใช้ในการปฏิบัติราชการของ กห. เนื้อหาภายในจะกล่าวถึง การปรับปรุงการจัดองค์กรและการบริหารราชการของ กห ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๒๕ ตอนที่ ๒๖ ก บังคับเป็นกฎหมายเมื่อ ๒ ก.พ.๕๑ กล่าวถึง การปรับปรุงการจัดองค์กร และการบริหารราชการของ กห. 24/01/63 7 7
8
พ.ร.บ. จัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ.2551
แบ่งเป็น 5 หมวด มี 53 มาตรา หมวดที่ บททั่วไป หมวดที่ การแบ่งส่วนราชการ หมวดที่ การจัดระเบียบ ราชการทั่วไป หมวดที่ การจัดระเบียบการ ปฏิบัติราชการทหาร หมวดที่ คณะผู้บริหาร 6 ทั้งนี้โดยเนื้อหานั้นประกอบไปด้วย 5 หมวด 53 มาตรา หมวดที่ บททั่วไป หมวดที่ การแบ่งส่วน ราชการ หมวดที่ การจัดระเบียบ ราชการทั่วไป หมวดที่ การจัดระเบียบการ ปฏิบัติราชการทหาร หมวดที่ คณะผู้บริหาร 8
9
พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ.2551
หมวด 1 บททั่วไป มาตรา 8 กห. มีหน้าที่ พิทักษ์รักษาเอกราชและความมั่นคงแห่งราชการอาณาจักร 2. พิทักษ์รักษา ปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์ 3. ปกป้อง พิทักษ์รักษาผลประโยชน์แห่งชาติและการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 4. ศึกษา วิจัย พัฒนาด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ 5. ปฏิบัติการอื่นที่เป็นการปฏิบัติทางทหารนอกเหนือจากสงคราม หมวด 1 บททั่วไป มาตรา 8 กห. มีหน้าที่ พิทักษ์รักษาเอกราช 2. พิทักษ์รักษา ปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์ 3. ปกป้อง พิทักษ์รักษาผลประโยชน์แห่งชาติ สังเกต จะกว้างกว่าเอกราช คลุมมากกว่า 4. ศึกษา วิจัย พัฒนาด้านอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ สังเกต เป็นประเด็นใหม่ที่ครอบคลุมเรื่องโครงสร้างพื้นฐานอุตสาหกรรมผลิตอาวุธ 5. ปฏิบัติการอื่นที่เป็นการปฏิบัติทางทหารนอกเหนือจากสงคราม
10
การกำหนดประเภท “ข้าราชการพลเรือนกลาโหม”
ทหาร ข้าราชการ กระทรวงกลาโหม ทหารกองประจำการ นักเรียนในสังกัด กระทรวงกลาโหม บุคคลที่ถูกเรียก เข้ารับราชการ สาระสำคัญประการหนึ่ง คือ การกำหนดประเภทข้าราชการเพิ่มเติม ตามหมวดที่ 1 บททั่วไป มาตรา 6 จากเดิมที่ ทหารจะประกอบไปด้วย ข้าราชการกระทรวงกลาโหม ทหารกองประจำการ บุคคลที่ถูกเรียกเข้ารับราชการ นักเรียนในสังกัดกระทรวงกลาโหม + อธิบายแต่ละกลุ่มด้วย *การกำหนดข้าราชการกระทรวงกลาโหมยังแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ ข้าราชการทหาร และ ข้าราชการพลเรือนกลาโหม *“ข้าราชการพลเรือนกลาโหม” หมายความว่า ข้าราชการที่ได้รับการบรรจุและแต่งตั้งให้รับราชการในกระทรวงกลาโหมในตำแหน่งที่มิใช่อัตราทหารและไม่มีชั้นยศเพื่อปฏิบัติหน้าที่ที่ต้องใช้ความชำนาญเฉพาะทาง *การดำเนินการให้ตราเป็น พรฎ. มีเงินเดือน เงินประจำตำแหน่ง ใช้รูปแบบตามข้าราชการพลเรือนสามัญไปก่อน ข้าราชการทหาร ข้าราชการพลเรือนกลาโหม
11
การจัดส่วนราชการกระทรวงกลาโหม
หมวดที่ 2 การแบ่งส่วนราชการ ตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ มาตรา 10 กำหนดให้ กระทรวงกลาโหม มีส่วนราชการ 4 หน่วย หมวดที่ 2 กล่าวถึงเรื่องการแบ่งส่วนราชการ ตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ หมวดที่ 2 การแบ่งส่วนราชการ มาตรา 10 กำหนดให้ กระทรวงกลาโหม มีส่วนราชการ 4 หน่วย อ่าน(๑) สำนักงานรัฐมนตรี (๒) สำนักงานปลัดกระทรวง (๓) กรมราชองครักษ์ (๔) กองทัพไทย 3. กรมราชองครักษ์ 1. สำนักงานรัฐมนตรี 2. สำนักงานปลัดกระทรวง 4. กองทัพไทย 11 11
12
การจัดส่วนราชการกองทัพไทย
กองทัพบก กองทัพอากาศ ส่วนราชการอื่น ตามที่กำหนดโดย พระราชกฤษฎีกา พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ หมวดที่ 2 การแบ่งส่วนราชการ หมวดเดียวกันนี้ ในมาตรา 17 กำหนดให้ กองทัพไทยมีส่วนราชการ คือ (๑) กองบัญชาการกองทัพไทย (๒) กองทัพบก (๓) กองทัพเรือ (๔) กองทัพอากาศ (๕) ส่วนราชการอื่นตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา กองบัญชาการ กองทัพไทย กองทัพเรือ ตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ มาตรา 17 12
13
ภารกิจทั่วไปของกองทัพบก
24/01/63 ภารกิจทั่วไปของกองทัพบก ตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑ มาตรา ๑๙ กำหนดไว้ว่า “กองทัพบกมีหน้าที่ เตรียมกำลังทางบกและป้องกันราชอาณาจักร มีผู้บัญชาการทหารบกเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ” ใน หมวด 2 มาตรา 19( ตามพระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหม พ.ศ.๒๕๕๑) การแบ่งส่วนราชการ ภารกิจ ทบ. จึงได้กำหนดว่า “ กองทัพบก มีหน้าที่ เตรียมกำลังทางบก และ ป้องกันราชอาณาจักร มีผู้บัญชาการทหารบก เป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ ” กล่าวโดยสรุปคือ เตรียมกำลัง และ ใช้กำลัง 24/01/63 24/01/63 13 13 24/01/63 13 13
14
การจัดส่วนราชการ ของ กองทัพบก
24/01/63 การจัดส่วนราชการ ของ กองทัพบก - สำหรับช่วงที่ผ่านมาจะเป็นการบรรยายถึง ภารกิจของกองทัพบก ซึ่งได้เท้าความถึงความเป็นมา โดยเนื้อหาหลักๆแล้วจะกล่าวตาม พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ.2551 - เพื่อให้ส่วนราชการของกองทัพบก ปฏิบัติหน้าที่โดยมีกฎหมายรองรับ จึงได้มีการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ของส่วนราชการ กองทัพบก กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม พ.ศ.2552 ในส่วนต่อไปจะเป็นการกล่าวถึงการจัดและโครงสร้างภายในกองทัพบก ซึ่งเนื้อหาที่จะกล่าวต่อไป จะเป็นไปตาม พ.ร.ฎ. ดังกล่าว พ.ร.ฎ.แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ของส่วนราชการ กองทัพบก กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม พ.ศ.2552 14
15
พ.ร.ฎ.แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ส่วนราชการ
กองทัพบก กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม พ.ศ.2552 แทน พ.ร.ฎ.แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ส่วนราชการกองทัพบก พ.ศ.2544 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 และฉบับที่ 3 พ.ศ.2548 จากเดิมที่ใช้ พ.ร.ฎ.แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ส่วนราชการกองทัพบก พ.ศ.2544 แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2 พ.ศ.2545 และฉบับที่ 3 พ.ศ เป็นกฎหมายลูกที่รองรับ พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ.๒๕๐๓ - ทั้งนี้เมื่อมีการตรา พระราชบัญญัติจัดระเบียบราชการกระทรวงกลาโหมพ.ศ.2551 ที่บัญญัติใช้รองรับรัฐธรรมนูญปี 50 ในสาระที่กำหนดให้ ทบ.เป็นส่วนราชการขึ้นตรงกับ กองทัพไทย เพื่อให้มีกฎหมายรองรับจึงได้ตรา พ.ร.ฎ.แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ส่วนราชการกองทัพบกกองทัพไทย กระทรวงกลาโหม พ.ศ.2552 ขึ้นมาแทน พ.ร.ฎ.แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ส่วนราชการกองทัพบก พ.ศ.2544 - เน้นหน่วยที่มีการเปลี่ยนแปลง ส่วนราชการใน ทบ. คงมี 34 ส่วนเท่าเดิม (มาตรา ๒๓ การแบ่งส่วนราชการของกระทรวงกลาโหมตามที่กำหนดในมาตรา ๑๐ (๑) (๒) และ (๓) และการแบ่งส่วนราชการของกองทัพไทยตามมาตรา ๑๗ (๑) (๒) (๓) และ (๔) ออกเป็นส่วนราชการระดับรองลงไปและการกำหนดหน้าที่ของส่วนราชการนั้น ให้ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา)
16
การจัดส่วนราชการใน ทบ.
กองทัพบก ส่วนบัญชาการ ๑. สลก.ทบ. ๔. ยก.ทบ. ๗. สปช.ทบ. ๑๐. สห.ทบ. ๑๓. สบ.ทบ. ๑๖. ขส.ทบ. ๑๙. กส.ทบ. ๒๒. ยย.ทบ. ๒๕. ยศ.ทบ. ๒๘. ทภ.๑ ๓๑. ทภ.๔ ๓๔. หน่วยทหารอื่น ซึ่งมีฐานะเทียบเท่ากองร้อย กองพัน กรม กองพล หรือกองทัพน้อย ๒. กพ.ทบ. ๕. กบ.ทบ. ๘. สวพ.ทบ. ๑๑. จบ. ๑๔. นรด. ๑๗. กช. ๒๐. พธ.ทบ. ๒๓. สพ.ทบ. ๒๖. รร.จปร. ๒๙. ทภ.๒ ๓๒. นสศ. ๓. ขว.ทบ. ๖. กร.ทบ. ๙. กง.ทบ. ๑๒. สก.ทบ. ๑๕. สตน.ทบ. ๑๘. สส. ๒๑. พบ. ๒๔. วศ.ทบ. ๒๗. ศบบ. ๓๐. ทภ.๓ ๓๓. นปอ. ส่วนกำลังรบ ส่วนสนับสนุนการรบ ส่วนส่งกำลังบำรุง ส่วนภูมิภาค ซึ่ง ทบ. ได้แยกกลุ่มส่วนราชการดังกล่าว ตามภาระหน้าที่ออกเป็น ๗ ส่วน ได้แก่ ส่วนบัญชาการ, ส่วนกำลังรบ, ส่วนสนับสนุนการรบ, ส่วนส่งกำลังบำรุง, ส่วนภูมิภาค, ส่วนการศึกษาและหลักนิยม และส่วนช่วยการพัฒนาประเทศ ดังนี้.- ส่วนการฝึกศึกษา และหลักนิยม ส่วนพัฒนาประเทศ
17
ส่วนการฝึกศึกษาและหลักนิยม
ส่วนราชการ ทบ. 7 ส่วน 24/01/63 กองทัพบก ส่วนบัญชาการ ส่วนกำลังรบ ส่วนสนับสนุนการรบ ส่วนส่งกำลังบำรุง ส่วนภูมิภาค ส่วนการฝึกศึกษาและหลักนิยม ส่วนพัฒนาประเทศ 29 การจัดกลุ่มของหน่วยใน ทบ. ซึ่งจัดเองเจ็ดกลุ่มใหญ่ตามหน้าที่ บลาๆๆๆๆๆๆ 24/01/63 17 17
18
ส่วนบัญชาการ มีหน้าที่
24/01/63 มีหน้าที่ ควบคุมบังคับบัญชา วางแผน อำนวยการ ประสานงานและกำกับการ ให้การดำเนินงานของกองทัพบก ทั้งในยามปกติ และยามสงครามเป็นไปอย่างประสิทธิภาพและรวดเร็ว อธิบายส่วนแรก โดยส่วนบัญชาการมีหน้าที่ควบคุมบังคับบัญชา วางแผน อำนวยการ ประสานงานและกำกับการให้การ ดำเนินงานของกองทัพบกในยามปกติและยามสงครามเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว ส่วนบัญชาการ ประกอบด้วยส่วนราชการต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 24/01/63 18 18
19
สำนักงานผู้บังคับบัญชา
ส่วนบัญชาการ 24/01/63 กองทัพบก สำนักงานผู้บังคับบัญชา สลก.ทบ. ฝ่ายเสนาธิการ กพ.ทบ. ขว.ทบ. ยก.ทบ. กบ.ทบ. กร.ทบ. สปช.ทบ. ฝ่ายกิจการพิเศษ นรด. กง.ทบ. สห.ทบ. จบ. สก.ทบ. สบ.ทบ. สตน.ทบ. สวพ.ทบ. อธิบายโครงสร้าง ส่วนบัญชาการ ของ ทบ. ประกอบหน้าที่ส่วนบัญชาการ มีหน้าที่ควบคุมบังคับบัญชา วางแผน อำนวยการ ประสานงาน และกำกับการให้การดำเนินงานของ ทบ. ทั้งในยามปกติและยามสงครามเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย ฝ่ายเส ฝ่ายกิจการพิเศษ ฝ่ายยุทธบริการ ฝ่ายยุทธบริการ ขส.ทบ. กช. สส. กส.ทบ. วศ.ทบ. ยย.ทบ. พธ.ทบ. พบ. สพ.ทบ. 24/01/63 19 19
20
ส่วนบัญชาการ กรมฝ่ายเสนาธิการ 24/01/63 20 กองทัพบก
สำนักงานผู้บังคับบัญชา สำนักงานเลขานุการกองทัพบก กรมกำลังพลทหารบก กรมส่งกำลังบำรุงทหารบก 33 - กลุ่มของ กรม ฝสธ. เป็นกรมหลัก - เป็นกลุ่มสมองของ ทบ. เป็นโครงสร้างที่แตกต่างจาก กระทรวงอื่นๆ - คล้ายๆโรงงาน กพ – ผจก บุคคล ขว – การตลาด ยก – ฝ่ายผลิต กบ – ฝ่ายจัดหา กร –ลุกค้าสัมพันธ์ สปช- ฝ่ายการบัญชี - บก.ทบ. (สำนักงานผู้บังคับบัญชา กับ สสน.บก.ทบ.) มีหน้าที่บังคับบัญชาหน่วยต่าง ๆ ใน ทบ. และรับผิดชอบในการปฏิบัติภารกิจของ ทบ.และภารกิจอื่น ๆ ที่มิได้มอบหมายให้หน่วยงานใดโดยเฉพาะ ผู้บังคับบัญชาชั้นสูงของ ทบ. ตั้งแต่ ผบ.ทบ.,รอง ผบ.ทบ.,ผช.ผบ.ทบ., เสธ.ทบ. และ รอง เสธ.ทบ. กับ ผช.เสธ.ทบ. ฝ่ายต่าง ๆ ปฏิบัติงานอยู่ในส่วนราชการนี้ - สลก.ทบ. มีหน้าที่หลักเกี่ยวกับงานด้านการประชาสัมพันธ์ของ ทบ. และงานด้านธุรการสำหรับผู้บังคับบัญชาชั้นสูงต่าง ๆ ของ ทบ. ตลอดจนงานอื่น ๆ ที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการ - กรมฝ่ายเสนาธิการ เป็นต้นคิดและแก้ปัญหาในเรื่องต่าง ๆ ทั้งที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการหรือริเริ่มขึ้นเอง หรือที่ส่วนราชการอื่น ๆ รายงานขึ้นมา หน่วยงานในกลุ่มนี้เป็นฝ่ายเสนาธิการ คือ GENERAL หรือ COORDINATING STAFF ของผู้บังคับบัญชา มีหน้าที่วางแผน ประสานงาน ให้ข้อเสนอแนะ กำกับการ และดำเนินการในเรื่องต่าง ๆ ตามสายงานที่รับผิดชอบ ประกอบด้วย - กพ.ทบ. รับผิดชอบงานกิจการกำลังพลทั้งปวง เป็นต้นว่า การกำหนดความต้องการกำลังพล การเตรียมกำลังพล การควบคุมกำลังพล การปกครองและการบำรุงขวัญกำลังพล การเลื่อน ลด ปลด ย้ายกำลังพล - ขว.ทบ. รับผิดชอบงานการข่าวทั้งปวง การปฏิบัติการข่าวตามความต้องการของ ทบ. การทูตฝ่ายทหารบกและกิจการต่างประเทศของ ทบ. และการฝึกศึกษาของเหล่าทหารการข่าว - ยก.ทบ. รับผิดชอบงานการจัดเตรียมกำลังและการใช้กำลังของ ทบ. โดยมีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดส่วนราชการใน ทบ. การพัฒนาเสริมสร้างกำลัง อำนวยการด้านการฝึกและการศึกษาของ ทบ. การจัดทำแผนป้องกันประเทศต่าง ๆ และการใช้กำลังในการปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ของ ทบ. นอกจากนี้ยังรับผิดชอบด้านกิจการบินของ ทบ. การสงครามพิเศษ การวิจัยและพัฒนา ตลอดจนงานประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ทหารของ ทบ. - กบ.ทบ. รับผิดชอบงานการส่งกำลังบำรุงของ ทบ. ซึ่งได้แก่ ความต้องการ การจัดหา การเก็บรักษา การแจกจ่าย และการจำหน่ายยุทโธปกรณ์ประเภทต่าง ๆ ตลอดจนการรักษาพยาบาล การขนส่ง การจัดการเกี่ยวกับ ที่ดินของ ทบ. และการบริการอื่น ๆ รวมทั้งการควบคุม กำกับดูแลฝ่ายยุทธบริการต่าง ๆ - กร.ทบ. รับผิดชอบงานด้านกิจการพลเรือน การติดต่อประสานงานกับส่วนราชการฝ่ายพลเรือนในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทหาร และดำเนินการทางการเมืองในหน่วยทหาร และงานจิตวิทยาทั้งปวงที่จำเป็นต่อการสนับสนุนการปฏิบัติการทางทหาร - สปช.ทบ. รับผิดชอบงานด้านงบประมาณ การบัญชี รวมทั้งรับผิดชอบในการวิเคราะห์โครงการของ ทบ.เป็นส่วนรวม กรมข่าวทหารบก กรมกิจการพลเรือนทหารบก กรมยุทธการทหารบก สำนักงานปลัดบัญชีกองทัพบก 24/01/63 20 20
21
ส่วนบัญชาการ กรมฝ่ายเสนาธิการ 24/01/63 21
สำนักงานเลขานุการกองทัพบก งานเลขานุการ/งานธุรการให้ ผบ.ชาชั้นสูง,การประชาสัมพันธ์ กรมกำลังพลทหารบก การกำลังพล,การปกครอง, การศึกษาและพัฒนาความรู้ กรมข่าวทหารบก การข่าว, การ รปภ., การข่าวลับ,การทูตฝ่ายทหารบก, ควบคุมแผนที่ทหาร กรมยุทธการทหารบก เตรียมกำลังและการใช้กำลังของ ทบ., ประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ทหาร 33 - กลุ่มของ กรม ฝสธ. เป็นกรมหลัก - เป็นกลุ่มสมองของ ทบ. เป็นโครงสร้างที่แตกต่างจาก กระทรวงอื่นๆ - คล้ายๆโรงงาน กพ – ผจก บุคคล ขว – การตลาด ยก – ฝ่ายผลิต กบ – ฝ่ายจัดหา กร –ลุกค้าสัมพันธ์ สปช- ฝ่ายการบัญชี - บก.ทบ. (สำนักงานผู้บังคับบัญชา กับ สสน.บก.ทบ.) มีหน้าที่บังคับบัญชาหน่วยต่าง ๆ ใน ทบ. และรับผิดชอบในการปฏิบัติภารกิจของ ทบ.และภารกิจอื่น ๆ ที่มิได้มอบหมายให้หน่วยงานใดโดยเฉพาะ ผู้บังคับบัญชาชั้นสูงของ ทบ. ตั้งแต่ ผบ.ทบ.,รอง ผบ.ทบ.,ผช.ผบ.ทบ., เสธ.ทบ. และ รอง เสธ.ทบ. กับ ผช.เสธ.ทบ. ฝ่ายต่าง ๆ ปฏิบัติงานอยู่ในส่วนราชการนี้ - สลก.ทบ. มีหน้าที่หลักเกี่ยวกับงานด้านการประชาสัมพันธ์ของ ทบ. และงานด้านธุรการสำหรับผู้บังคับบัญชาชั้นสูงต่าง ๆ ของ ทบ. ตลอดจนงานอื่น ๆ ที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการ - กรมฝ่ายเสนาธิการ เป็นต้นคิดและแก้ปัญหาในเรื่องต่าง ๆ ทั้งที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการหรือริเริ่มขึ้นเอง หรือที่ส่วนราชการอื่น ๆ รายงานขึ้นมา หน่วยงานในกลุ่มนี้เป็นฝ่ายเสนาธิการ คือ GENERAL หรือ COORDINATING STAFF ของผู้บังคับบัญชา มีหน้าที่วางแผน ประสานงาน ให้ข้อเสนอแนะ กำกับการ และดำเนินการในเรื่องต่าง ๆ ตามสายงานที่รับผิดชอบ ประกอบด้วย - กพ.ทบ. รับผิดชอบงานกิจการกำลังพลทั้งปวง เป็นต้นว่า การกำหนดความต้องการกำลังพล การเตรียมกำลังพล การควบคุมกำลังพล การปกครองและการบำรุงขวัญกำลังพล การเลื่อน ลด ปลด ย้ายกำลังพล - ขว.ทบ. รับผิดชอบงานการข่าวทั้งปวง การปฏิบัติการข่าวตามความต้องการของ ทบ. การทูตฝ่ายทหารบกและกิจการต่างประเทศของ ทบ. และการฝึกศึกษาของเหล่าทหารการข่าว - ยก.ทบ. รับผิดชอบงานการจัดเตรียมกำลังและการใช้กำลังของ ทบ. โดยมีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดส่วนราชการใน ทบ. การพัฒนาเสริมสร้างกำลัง อำนวยการด้านการฝึกและการศึกษาของ ทบ. การจัดทำแผนป้องกันประเทศต่าง ๆ และการใช้กำลังในการปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ของ ทบ. นอกจากนี้ยังรับผิดชอบด้านกิจการบินของ ทบ. การสงครามพิเศษ การวิจัยและพัฒนา ตลอดจนงานประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ทหารของ ทบ. - กบ.ทบ. รับผิดชอบงานการส่งกำลังบำรุงของ ทบ. ซึ่งได้แก่ ความต้องการ การจัดหา การเก็บรักษา การแจกจ่าย และการจำหน่ายยุทโธปกรณ์ประเภทต่าง ๆ ตลอดจนการรักษาพยาบาล การขนส่ง การจัดการเกี่ยวกับ ที่ดินของ ทบ. และการบริการอื่น ๆ รวมทั้งการควบคุม กำกับดูแลฝ่ายยุทธบริการต่าง ๆ - กร.ทบ. รับผิดชอบงานด้านกิจการพลเรือน การติดต่อประสานงานกับส่วนราชการฝ่ายพลเรือนในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทหาร และดำเนินการทางการเมืองในหน่วยทหาร และงานจิตวิทยาทั้งปวงที่จำเป็นต่อการสนับสนุนการปฏิบัติการทางทหาร - สปช.ทบ. รับผิดชอบงานด้านงบประมาณ การบัญชี รวมทั้งรับผิดชอบในการวิเคราะห์โครงการของ ทบ.เป็นส่วนรวม กรมส่งกำลังบำรุงทหารบก งานส่งกำลังบำรุงทั้งปวง กรมกิจการพลเรือนทหารบก งานกิจการพลเรือน, สนับสนุนการปฏิบัติการทางทหารและการปกครอง สำนักงานปลัดบัญชีกองทัพบก การงบประมาณ, การบัญชี, การควบคุมภายใน 21
22
ส่วนบัญชาการ กรมฝ่ายกิจการพิเศษ 24/01/63 22 กองทัพบก
สำนักงานผู้บังคับบัญชา หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง กรมสวัสดิการทหารบก กรมการเงินทหารบก กรมสารบัญทหารบก 34 - กิจการพิเศษ ดำเนินกิจการงานที่มีความมุ่งหมายเฉพาะเป็นผู้ชำนาญการในเรื่องโดยเฉพาะที่ตนรับผิดชอบ ทำหน้าที่เป็น SPECIAL STAFF มีหน้าที่วางแผน ให้ข้อเสนอแนะ กำกับการ และดำเนินการในเรื่องโดยเฉพาะที่เกี่ยวกับหน้าที่ของตน ประกอบด้วย นสร., กง.ทบ., สห.ทบ., จบ., สก.ทบ., สบ.ทบ., สตน.ทบ .และ สวพ.ทบ. - ดูความสัมพันธ์ของงานต่างๆ เช่น กพ.ทบ.กับ สบ.ทบ.,สห.ทบ. / สปช.กับ กง. / ยก. กับ สวพ.ทบ. / ยก.ทบ.+กพ.ทบ. กับ นรด. กรมสารวัตรทหารบก สำนักงานตรวจสอบภายในกองทัพบก กรมจเรทหารบก สำนักงานวิจัยและพัฒนากองทัพบก 22
23
ส่วนบัญชาการ กรมฝ่ายกิจการพิเศษ 24/01/63 23
หน่วยบัญชาการกำลังสำรอง กิจการกำลังสำรองทั้งปวง, กิจการสัสดี กรมการเงินทหารบก การเบิก รับ จ่าย และเก็บรักษาเงิน, การบัญชีเงินของกองทัพบก กรมสารวัตรทหารบก การรักษาวินัย, การจับกุม, การเรือนจำ, การจราจร, การ รปภ.,การสืบสวน กรมจเรทหารบก ตรวจราชการ, การสืบสวน/สอบสวน ประสิทธิภาพ/ร้องทุกข์-ร้องเรียน 33 - กลุ่มของ กรม ฝสธ. เป็นกรมหลัก - เป็นกลุ่มสมองของ ทบ. เป็นโครงสร้างที่แตกต่างจาก กระทรวงอื่นๆ - คล้ายๆโรงงาน กพ – ผจก บุคคล ขว – การตลาด ยก – ฝ่ายผลิต กบ – ฝ่ายจัดหา กร –ลุกค้าสัมพันธ์ สปช- ฝ่ายการบัญชี - บก.ทบ. (สำนักงานผู้บังคับบัญชา กับ สสน.บก.ทบ.) มีหน้าที่บังคับบัญชาหน่วยต่าง ๆ ใน ทบ. และรับผิดชอบในการปฏิบัติภารกิจของ ทบ.และภารกิจอื่น ๆ ที่มิได้มอบหมายให้หน่วยงานใดโดยเฉพาะ ผู้บังคับบัญชาชั้นสูงของ ทบ. ตั้งแต่ ผบ.ทบ.,รอง ผบ.ทบ.,ผช.ผบ.ทบ., เสธ.ทบ. และ รอง เสธ.ทบ. กับ ผช.เสธ.ทบ. ฝ่ายต่าง ๆ ปฏิบัติงานอยู่ในส่วนราชการนี้ - สลก.ทบ. มีหน้าที่หลักเกี่ยวกับงานด้านการประชาสัมพันธ์ของ ทบ. และงานด้านธุรการสำหรับผู้บังคับบัญชาชั้นสูงต่าง ๆ ของ ทบ. ตลอดจนงานอื่น ๆ ที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการ - กรมฝ่ายเสนาธิการ เป็นต้นคิดและแก้ปัญหาในเรื่องต่าง ๆ ทั้งที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการหรือริเริ่มขึ้นเอง หรือที่ส่วนราชการอื่น ๆ รายงานขึ้นมา หน่วยงานในกลุ่มนี้เป็นฝ่ายเสนาธิการ คือ GENERAL หรือ COORDINATING STAFF ของผู้บังคับบัญชา มีหน้าที่วางแผน ประสานงาน ให้ข้อเสนอแนะ กำกับการ และดำเนินการในเรื่องต่าง ๆ ตามสายงานที่รับผิดชอบ ประกอบด้วย - กพ.ทบ. รับผิดชอบงานกิจการกำลังพลทั้งปวง เป็นต้นว่า การกำหนดความต้องการกำลังพล การเตรียมกำลังพล การควบคุมกำลังพล การปกครองและการบำรุงขวัญกำลังพล การเลื่อน ลด ปลด ย้ายกำลังพล - ขว.ทบ. รับผิดชอบงานการข่าวทั้งปวง การปฏิบัติการข่าวตามความต้องการของ ทบ. การทูตฝ่ายทหารบกและกิจการต่างประเทศของ ทบ. และการฝึกศึกษาของเหล่าทหารการข่าว - ยก.ทบ. รับผิดชอบงานการจัดเตรียมกำลังและการใช้กำลังของ ทบ. โดยมีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดส่วนราชการใน ทบ. การพัฒนาเสริมสร้างกำลัง อำนวยการด้านการฝึกและการศึกษาของ ทบ. การจัดทำแผนป้องกันประเทศต่าง ๆ และการใช้กำลังในการปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ของ ทบ. นอกจากนี้ยังรับผิดชอบด้านกิจการบินของ ทบ. การสงครามพิเศษ การวิจัยและพัฒนา ตลอดจนงานประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ทหารของ ทบ. - กบ.ทบ. รับผิดชอบงานการส่งกำลังบำรุงของ ทบ. ซึ่งได้แก่ ความต้องการ การจัดหา การเก็บรักษา การแจกจ่าย และการจำหน่ายยุทโธปกรณ์ประเภทต่าง ๆ ตลอดจนการรักษาพยาบาล การขนส่ง การจัดการเกี่ยวกับ ที่ดินของ ทบ. และการบริการอื่น ๆ รวมทั้งการควบคุม กำกับดูแลฝ่ายยุทธบริการต่าง ๆ - กร.ทบ. รับผิดชอบงานด้านกิจการพลเรือน การติดต่อประสานงานกับส่วนราชการฝ่ายพลเรือนในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทหาร และดำเนินการทางการเมืองในหน่วยทหาร และงานจิตวิทยาทั้งปวงที่จำเป็นต่อการสนับสนุนการปฏิบัติการทางทหาร - สปช.ทบ. รับผิดชอบงานด้านงบประมาณ การบัญชี รวมทั้งรับผิดชอบในการวิเคราะห์โครงการของ ทบ.เป็นส่วนรวม กรมสวัสดิการทหารบก งานสวัสดิภาพและบำบัดทุกข์บำรุงสุข กรมสารบัญทหารบก งานสารบรรณ, งานธุรการ, พิธีการ, การสนับสนุน การจัดการกำลังพล สำนักงานตรวจสอบภายในกองทัพบก ตรวจสอบภายในโดยอิสระ ควบคุม/บริหารทรัพยากร สำนักงานวิจัยและพัฒนากองทัพบก การวิจัยและพัฒนาการทางทหาร ด้านหลักการ/ด้านยุทโธปกรณ์ 23
24
สำนักงานผู้บังคับบัญชา กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก
ส่วนบัญชาการ 24/01/63 กองทัพบก กรมฝ่ายยุทธบริการ สำนักงานผู้บังคับบัญชา กรมการขนส่งทหารบก กรมแพทย์ทหารบก กรมการทหารช่าง กรมยุทธโยธาทหารบก - กรมฝ่ายยุทธบริการ เป็นผู้ชำนาญการในเทคนิคที่ตนรับผิดชอบเป็น TECHNICAL SERVICE STAFF เกี่ยวกับ ยป.มีหน้าที่วางแผน ให้ข้อเสนอแนะ กำกับการ และดำเนินการวิจัยพัฒนาเกี่ยวกับการผลิต การส่งกำลัง การซ่อมบำรุง การบริการ รวมทั้งกำหนดหลักนิยมและทำตำรา ตลอดทั้งการฝึกศึกษาในสายยุทธบริการที่รับผิดชอบ ประกอบด้วย กรมฝ่ายยุทธบริการต่าง ๆ ได้แก่ ขส.ทบ., กช., สส., กส.ทบ., พธ.ทบ., พบ., ยย.ทบ., สพ.ทบ. และ วศ.ทบ. ดูความสัมพันธ์ของงานต่างๆ เช่น ยก.ทบ. + กบ.ทบ. กับ กรมฝ่ายยุทธบริการ ทำไม ทบ. ทร. ทอ.ต้องมีแบบนี้ กรมการทหารสื่อสาร กรมสรรพาวุธทหารบก กรมการสัตว์ทหารบก กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก กรมพลาธิการทหารบก 24
25
ส่วนบัญชาการ กรมฝ่ายยุทธบริการ 24/01/63 25
กรมการขนส่งทหารบก กิจการและสิ่งอุปกรณ์ของเหล่าทหารขนส่ง กรมการเงินทหารบก กรมการทหารช่าง กิจการและสิ่งอุปกรณ์ของเหล่าทหารช่าง กรมสารวัตรทหารบก กรมการทหารสื่อสาร กิจการและสิ่งอุปกรณ์ของเหล่าทหารสื่อสาร กรมจเรทหารบก กรมการสัตว์ทหารบก กิจการและสิ่งอุปกรณ์ของเหล่าทหารการสัตว์, การเกษตรของ ทบ. กรมพลาธิการทหารบก กิจการและสิ่งอุปกรณ์ของเหล่าทหารพลาธิการ 33 - กลุ่มของ กรม ฝสธ. เป็นกรมหลัก - เป็นกลุ่มสมองของ ทบ. เป็นโครงสร้างที่แตกต่างจาก กระทรวงอื่นๆ - คล้ายๆโรงงาน กพ – ผจก บุคคล ขว – การตลาด ยก – ฝ่ายผลิต กบ – ฝ่ายจัดหา กร –ลุกค้าสัมพันธ์ สปช- ฝ่ายการบัญชี - บก.ทบ. (สำนักงานผู้บังคับบัญชา กับ สสน.บก.ทบ.) มีหน้าที่บังคับบัญชาหน่วยต่าง ๆ ใน ทบ. และรับผิดชอบในการปฏิบัติภารกิจของ ทบ.และภารกิจอื่น ๆ ที่มิได้มอบหมายให้หน่วยงานใดโดยเฉพาะ ผู้บังคับบัญชาชั้นสูงของ ทบ. ตั้งแต่ ผบ.ทบ.,รอง ผบ.ทบ.,ผช.ผบ.ทบ., เสธ.ทบ. และ รอง เสธ.ทบ. กับ ผช.เสธ.ทบ. ฝ่ายต่าง ๆ ปฏิบัติงานอยู่ในส่วนราชการนี้ - สลก.ทบ. มีหน้าที่หลักเกี่ยวกับงานด้านการประชาสัมพันธ์ของ ทบ. และงานด้านธุรการสำหรับผู้บังคับบัญชาชั้นสูงต่าง ๆ ของ ทบ. ตลอดจนงานอื่น ๆ ที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการ - กรมฝ่ายเสนาธิการ เป็นต้นคิดและแก้ปัญหาในเรื่องต่าง ๆ ทั้งที่ผู้บังคับบัญชาสั่งการหรือริเริ่มขึ้นเอง หรือที่ส่วนราชการอื่น ๆ รายงานขึ้นมา หน่วยงานในกลุ่มนี้เป็นฝ่ายเสนาธิการ คือ GENERAL หรือ COORDINATING STAFF ของผู้บังคับบัญชา มีหน้าที่วางแผน ประสานงาน ให้ข้อเสนอแนะ กำกับการ และดำเนินการในเรื่องต่าง ๆ ตามสายงานที่รับผิดชอบ ประกอบด้วย - กพ.ทบ. รับผิดชอบงานกิจการกำลังพลทั้งปวง เป็นต้นว่า การกำหนดความต้องการกำลังพล การเตรียมกำลังพล การควบคุมกำลังพล การปกครองและการบำรุงขวัญกำลังพล การเลื่อน ลด ปลด ย้ายกำลังพล - ขว.ทบ. รับผิดชอบงานการข่าวทั้งปวง การปฏิบัติการข่าวตามความต้องการของ ทบ. การทูตฝ่ายทหารบกและกิจการต่างประเทศของ ทบ. และการฝึกศึกษาของเหล่าทหารการข่าว - ยก.ทบ. รับผิดชอบงานการจัดเตรียมกำลังและการใช้กำลังของ ทบ. โดยมีหน้าที่เกี่ยวกับการจัดส่วนราชการใน ทบ. การพัฒนาเสริมสร้างกำลัง อำนวยการด้านการฝึกและการศึกษาของ ทบ. การจัดทำแผนป้องกันประเทศต่าง ๆ และการใช้กำลังในการปฏิบัติภารกิจต่าง ๆ ของ ทบ. นอกจากนี้ยังรับผิดชอบด้านกิจการบินของ ทบ. การสงครามพิเศษ การวิจัยและพัฒนา ตลอดจนงานประวัติศาสตร์และพิพิธภัณฑ์ทหารของ ทบ. - กบ.ทบ. รับผิดชอบงานการส่งกำลังบำรุงของ ทบ. ซึ่งได้แก่ ความต้องการ การจัดหา การเก็บรักษา การแจกจ่าย และการจำหน่ายยุทโธปกรณ์ประเภทต่าง ๆ ตลอดจนการรักษาพยาบาล การขนส่ง การจัดการเกี่ยวกับ ที่ดินของ ทบ. และการบริการอื่น ๆ รวมทั้งการควบคุม กำกับดูแลฝ่ายยุทธบริการต่าง ๆ - กร.ทบ. รับผิดชอบงานด้านกิจการพลเรือน การติดต่อประสานงานกับส่วนราชการฝ่ายพลเรือนในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทหาร และดำเนินการทางการเมืองในหน่วยทหาร และงานจิตวิทยาทั้งปวงที่จำเป็นต่อการสนับสนุนการปฏิบัติการทางทหาร - สปช.ทบ. รับผิดชอบงานด้านงบประมาณ การบัญชี รวมทั้งรับผิดชอบในการวิเคราะห์โครงการของ ทบ.เป็นส่วนรวม กรมแพทย์ทหารบก กิจการและสิ่งอุปกรณ์ของเหล่าทหารแพทย์ กรมยุทธโยธาทหารบก กิจการและสิ่งอุปกรณ์ของสายยุทธโยธา, ก่อสร้างและอสังหาริมทรัพย์ กรมสรรพาวุธทหารบก กิจการและสิ่งอุปกรณ์ของเหล่าทหารสรรพาวุธ กรมวิทยาศาสตร์ทหารบก กิจการวิทยาศาสตร์ 25
26
ส่วนกำลังรบ เป็นองค์ประกอบหลักของ ทบ. มีหน้าที่ใช้กำลังรบ เข้าต่อสู้กับข้าศึก เพื่อป้องกันราชอาณาจักร ภารกิจและขีดความสามารถเฉพาะของแต่ละหน่วยกำลังรบจะปรากฏอยู่ในอัตราการจัดหน่วยนั้น ๆ 37 เป็นหน่วยที่เป็นองค์ประกอบของ ทบ. ที่มีการจัดแบบ อจย. ซึ่งแตกต่างจากส่วนราชการอื่นๆ - การจัดหน่วยในส่วนกำลังรบนี้ เกิดจาก สมมุติฐานของภัยคุกคาม ซึ่งใช้แนวความคิดแบบเดียวกันนี้ในรูปแบบสากล - โดยทั่วไปในรูปแบบของสากล จะใช้จำนวนของกองพลดำเนินกลยุทธ เป็นตัววัดกำลังรบทางบกของชาตินั้นๆ 24/01/63 26
27
24/01/63 27 ส่วนกำลังรบ ทบ. ทภ.1 ทภ.2 ทภ.3 ทภ.4 นสศ. พล.ม.2 พล.ร.11
ทน.1 ทน.2 ทน.3 ทน.4 พล.รพศ. พล.1 รอ. พล.ร.3 พล.ร.4 พล.ร.5 * หมายเหตุ: นขต.นรด. แปรสภาพเป็น ศูนย์ฝึกหน่วย กสร.ทบ. รพศ. พล.ร.2 รอ. พล.ร.6 พล.ร.7 พล.ร.15 พล.ร.9 พล.ม.3 พล.ม.1 * 39 สังเกต - พล.พท.=พล.ร.๑๕ โครงสร้างตามแผนเป็น พล.ร.หนุน - พล.ร.๑๑ ศูนย์การกำลังสำรอง โครงสร้างตามแผนเป็น พล.ร.หนุน - บชร ทำไมมาอยู่ที่นี่ เพราะว่ามันตามไปรบด้วยอะดิ มันจะแยกการส่งกำลังพันธกิจเป็นแบบภารกิจด้วย ทหารพราน ราคาถูก ไม่ต้องจ้างตามงบ กพ. - นับจำนวนหน่วยรบ ทบ. ปรับโครงสร้างการจัดและการกำหนดความต้องการกำลังรบใหม่ ประกอบด้วย ๗ พล.ร., ๒ พล.ม., ๒ พล.ร.หนุน และ ๑ พล.รพศ. บชร.1 บชร.2 บชร.3 บชร.4 3 กรม ทพ. 3 กรม ทพ. 4 กรม ทพ. 10 กรม ทพ. 27
28
ส่วนสนับสนุนการรบ มีหน้าที่ สนับสนุนส่วนกำลังรบ เพื่อให้บรรลุภารกิจของ
สนับสนุนส่วนกำลังรบ เพื่อให้บรรลุภารกิจของ ส่วนกำลังรบ ปกติจะใช้ในลักษณะรวมการ แต่ใน บางกรณี เมื่อมีความจำเป็น อาจพิจารณาแบ่ง มอบให้กับส่วนราชการใดๆ ได้ตามความเหมาะสม 40 ส่วนสนับสนุนการรบ มีหน้าที่ สนับสนุนส่วนกำลังรบ เพื่อให้บรรลุภารกิจของ ส่วนกำลังรบ ปกติจะใช้ในลักษณะรวมการ แต่ในบางกรณี เมื่อมีความจำเป็น อาจพิจารณาแบ่ง มอบให้กับส่วนราชการใดๆ ได้ตามความเหมาะสม 24/01/63 28
29
ส่วนสนับสนุนการรบ ทบ. 24/01/63 29 พล.ป. นปอ. ส.1 พล.ช. ขกท. พัน.บิน
พัน.ปจว. หน่วยทหารอื่น ๆ กรม ป. พล.ปตอ. ศปภอ.ทบ. ส.พัน.101 พัน.บิน พัน.ปฐบ. กรม ปตอ. ศปภอ.ทบ.1 พัน.สท. ร้อย.ป.คปม. ส.พัน.102 กองบินปีกหมุน 42 อธิบายวิธีการ ทำความเข้าใจ สังเกต ปตอ.มาใหม่ มาทั้งยวง นับจาก ราบ ม้า- ปืน + ปตอ. ช่าง สื่อสาร ข่าว ปจว. อื่นๆ ศปภอ.ทบ.2 ส.พัน.13 ร้อย.วศ. ศปภอ.ทบ.3 กอง สพบ. กองบินเบา ศปภอ.ทบ.4 24/01/63 พัน.สร.13 29 29
30
ส่วนส่งกำลังบำรุง มีหน้าที่
ให้การสนับสนุนทางด้านการส่งกำลังบำรุง ให้กับ ส่วนราชการต่าง ๆ ของกองทัพบก ได้แก่ การส่งกำลัง การซ่อมบำรุง การส่งกลับ และการรักษาผู้ป่วยเจ็บ การขนส่ง การบริการ และการก่อสร้าง 43 ส่วนส่งกำลังบำรุง มีหน้าที่ ให้การสนับสนุนทางด้านการส่งกำลังบำรุง ให้กับส่วนราชการต่าง ๆ ของกองทัพบก ได้แก่ การส่งกำลัง การซ่อมบำรุง การส่งกลับ และการรักษาผู้ป่วยเจ็บ การขนส่ง การบริการ และการก่อสร้าง 24/01/63 30
31
ส่วนส่งกำลังบำรุง ทบ. กช. สพ.ทบ. พบ. ยย.ทบ. วศ.ทบ. หน่วย ช. หน่วย สพ.
24/01/63 ทบ. กช. สพ.ทบ. พบ. ยย.ทบ. วศ.ทบ. หน่วย ช. หน่วย สพ. หน่วย พ. หน่วย วศ. คลัง ยย. คลัง วศ. คลัง ช. คลัง สพ. คลัง พ. 45 วิธีคิด เป็นพวกบริการ เซอวิส ไม่เข้าทำการรบเอง งงไหมกับภาพที่เป็นกรมฝ่ายยุทธบริการด้วย และเป็นส่วนส่งกำลังบำรุงของ ทบ.ด้วย ไม่ต้องง ดูที่หน้าที่ มันเป็นทั้งสองแบบ สังเกตพวก ทั้งนี้ได้แก่ กองคลัง โรงงานหรือหน่วยการผลิต หรือหน่วยปฏิบัติการส่งกำลังบำรุงต่างๆ สส. พธ.ทบ. ขส.ทบ. กส.ทบ. หน่วย ส. หน่วย พธ. หน่วย ขส. หน่วย กส. คลัง ส. คลัง พธ. คลัง ขส. คลัง กส. 24/01/63 31 31
32
ส่วนภูมิภาค รักษาความสงบเรียบร้อยในพื้นที่, ศาล, คดี, เรือนจำ
24/01/63 ภารกิจ รักษาความสงบเรียบร้อยในพื้นที่, ศาล, คดี, เรือนจำ การระดมสรรพกำลัง สนับสนุนหน่วยทหารในพื้นที่ การดำเนินการตามยุทธศาสตร์การต่อสู้เบ็ดเสร็จ ปกครองบังคับบัญชากำลังประจำถิ่นของ ทบ. ประกอบด้วย ทภ., มทบ., จทบ. 46 รักษาความสงบเรียบร้อยในพื้นที่, ศาล, คดี, เรือนจำ การระดมสรรพกำลัง สนับสนุนหน่วยทหารในพื้นที่ การดำเนินการตามยุทธศาสตร์การต่อสู้เบ็ดเสร็จ ปกครองบังคับบัญชากำลังประจำถิ่นของ ทบ. ประกอบด้วย ทภ., มทบ., จทบ. สังเกต เจอ ทภ. อีกแล้ว ทภ. เป็นทั้งส่วนกำลังรบ และ ส่วนภูมิภาคด้วย อย่าคิดมาก 24/01/63 32 32
33
ทบ. เดิม ทภ.1 ทภ.2 ทภ.3 ทภ.4 มทบ.11 มทบ.21 มทบ.31 มทบ.41 จทบ.ก.ท.
จทบ.น.ม. จทบ.น.ว. จทบ.น.ศ. จทบ.ก.จ. 1 1 จทบ.บ.ร. 2 * จทบ.ต.ก. 2 * จทบ.ช.พ. 1 * จทบ.พ.บ. 1 * จทบ.ส.ร. 2 * จทบ.พ.ช. 1 จทบ.ทุ่งสง 1 จทบ.ร.บ. 1 มทบ.22 จทบ.พ.ล. 1 จทบ.ส.ฏ. 1 * มทบ.12 มทบ.32 จทบ.อ.บ. มทบ.42 จทบ.ป.จ. จทบ.ร.อ. 1 จทบ.ล.ป. จทบ.ส.ข. จทบ.ส.ก. 1 * มทบ.23 จทบ.พ.ย. 1 * จทบ.ป.น. 1 หมายเหตุ คือ มทบ. ทำหน้าที่ จทบ. จำนวน 13 หน่วย คือ จทบ.(ชั้น 1) จำนวน 15 หน่วย คือ จทบ.(ชั้น 2) จำนวน 7 หน่วย - * คือ ผบ.จทบ เป็น พล.ต. รอง ผบ.จทบ. เป็น พ.อ.(พ.) มีจำนวน 14 หน่วย ผบ.จทบ. ที่เป็น พ.อ.(พ.) มี 8 หน่วย ป็น จทบ.(ชั้น1) ทั้งหมด มทบ.13 จทบ.น.น. 2 * 48 ตามหน้าที่ในการปกครองพื้นที่ทางทหาร ได้แก่ มทบ., จทบ. อธิบาย ทภ.1-4 โครงสร้างเดิม ยังไม่มี มทบ.15 แต่ได้มีการเตรียมการ รวม จทบ.พบ. และ จทบ.รบ. จัดเป็น พล.ร.15 จทบ.ข.ก. จทบ.อ.ต. 1 * จทบ.ล.บ. จทบ.ล.ย. ล.ท. * 2 * มทบ.33 จทบ.ส.บ. 1 มทบ.24 จทบ.ช.ม. มทบ.14 จทบ.อ.ด. จทบ.ช.ร. 2 * จทบ.น.พ. 2 * จทบ.ช.บ. 1 * 33 จทบ.ส.น.
34
การแปรสภาพ จทบ. เป็น มทบ.
พ.ร.ฎ.แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ส่วนราชการกองทัพบก กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๘ กฎกระทรวงกำหนดหน้าที่และเขตพื้นที่ของมณฑลทหารบก พ.ศ.๒๕๕๘ 50 ตาม พ.ร.ฎ.แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ส่วนราชการกองทัพบกพ.ศ.2552 มาตรา 31 กำหนด ชื่อมณฑลทหารบกที่ 15 34 34
35
ทบ. ปัจจุบัน ทภ.1 ทภ.2 ทภ.3 ทภ.4 มทบ.11 มทบ.21 มทบ.31 มทบ41 มทบ.12
มทบ.22 มทบ.32 มทบ.42 มทบ.13 มทบ.23 มทบ.33 มทบ.43 มทบ.14 มทบ.24 มทบ.34 มทบ.44 มทบ.15 มทบ.25 มทบ.35 มทบ.45 มทบ.16 มทบ.26 มทบ.36 มทบ.46 49 อธิบายโครงสร้างใหม่ที่จัด มทบ.15 และ ทุก จทบ เป็นพลตรี = ผบ.จทบ. เดิม พ.อ.(พ.) ปรับ เป็น พล.ต. (ตั้งแต่ 1 เม.ย.52) จำนวน 8 จทบ. มทบ.17 มทบ.27 มทบ.37 มทบ.18 มทบ.28 มทบ.38 มทบ.19 มทบ.29 มทบ.39 มทบ.210 มทบ.310
36
50. ตาม พ. ร. ฎ. แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ส่วนราชการกองทัพบกพ. ศ
50 ตาม พ.ร.ฎ.แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ส่วนราชการกองทัพบกพ.ศ.2552 มาตรา 31 กำหนด ชื่อมณฑลทหารบกที่ 15 36 36
37
การแปรสภาพ จทบ. เป็น มทบ.
จทบ. ชั้น 1 จทบ. ชั้น 2 14 หน่วย 15 หน่วย 6 หน่วย ปัจจุบัน มทบ. : 14 หน่วย จทบ. : 21 หน่วย มทบ. 14 หน่วย 21 หน่วย หลังจากแปรสภาพ มทบ. : 35 หน่วย แปรสภาพ ปรับการบังคับบัญชา : เป็น นขต.ทภ.
38
ส่วนภูมิภาค ส่วนภูมิภาค หน่วย จำนวน หน่วย มทบ. หน่วย จทบ. ทภ.1 9 ทภ.2
มทบ.11, 12, 13, 14, 15 จทบ.ร.บ., จทบ.ก.จ., จทบ.ส.บ., จทบ.ส.ก. ทภ.2 10 มทบ.21, 22, 23, 24 จทบ.ส.ร., จทบ.บ.ร., จทบ.ร.อ., จทบ.ล.ย., จทบ.ส.น., จทบ.น.พ. ทภ.3 มทบ.31, 32, 33 จทบ.พ.ย., จทบ.อ.ต., จทบ.พ.ช., จทบ.ช.ร., จทบ.น.น., จทบ.พ.ล., จทบ.ต.ก. ทภ.4 6 มทบ.41, 42 จทบ.ท.ส., จทบ.ช.พ., จทบ.ส.ฎ., จทบ.ป.น. รวม 35 14 21
39
เขตพื้นที่ความรับผิดชอบ(ปัจจุบัน) ทภ.1
สิงห์บุรี มทบ ลพบุรี, ชัยนาท, สิงห์บุรี อ่างทอง, สระบุรี, อยุธยา อ่างทอง มทบ.11 กรุงเทพฯ, นครปฐม, นนทบุรี, ปทุมธานี, สมุทรปราการ, สมุทรสาคร, กาญจนบุรี, สุพรรณบุรี ลพบุรี ชัยนาท จทบ.สระบุรี : สระบุรี, อยุธยา สระบุรี นครนายก สุพรรณบุรี อยุธยา กาญจนบุรี ปราจีนบุรี นครปฐม สระแก้ว ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพฯ ฉะเชิงเทรา จทบ.กาญจนบุรี : กาญจนบุรี, สุพรรณบุรี ราชบุรี ชลบุรี มทบ.14 ชลบุรี, จันทบุรี, ตราด, ระยอง ระยอง จันทบุรี เพชรบุรี มทบ.15 เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์ ราชบุรี, สมุทรสงคราม ตราด สมุทรปราการ สมุทรสาคร สมุทรสงคราม จทบ.ราชบุรี :ราชบุรี, สมุทรสงคราม ประจวบคีรีขันธ์ มทบ.12 ปราจีนบุรี, นครนายก, ฉะเชิงเทรา, สระแก้ว จทบ.สระแก้ว : สระแก้ว
40
เขตพื้นที่ความรับผิดชอบ(ใหม่) ทภ.1
สิงห์บุรี มทบ ลพบุรี, ชัยนาท, สิงห์บุรี อ่างทอง อ่างทอง มทบ.11 กรุงเทพฯ, นครปฐม, นนทบุรี, ปทุมธานี, สมุทรปราการ, สมุทรสาคร, ลพบุรี ชัยนาท มทบ สระบุรี, อยุธยา สระบุรี นครนายก สุพรรณบุรี อยุธยา กาญจนบุรี มทบ.19 สระแก้ว, จันทบุรี, ตราด ปราจีนบุรี นครปฐม สระแก้ว ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพฯ มทบ.17 กาญจนบุรี, สุพรรณบุรี ฉะเชิงเทรา ราชบุรี ชลบุรี มทบ.14 ชลบุรี, ระยอง ระยอง จันทบุรี เพชรบุรี มทบ.15 เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์ ตราด สมุทรปราการ สมุทรสาคร มทบ.16 ราชบุรี, สมุทรสงคราม, สมุทรสาคร สมุทรสงคราม ประจวบคีรีขันธ์ มทบ.12 ปราจีนบุรี, นครนายก, ฉะเชิงเทรา หมายเหตุ : ทภ.1 เสนอปรับในปี 2560 เมื่อมีการบรรจุกำลังพลตามอัตราอนุมัติร้อยละ 80 แล้ว โดยปรับเขตรับผิดชอบ ของ มทบ.11, มทบ.14,จทบ.ราชบุรี และ จทบ.สระแก้ว จากปัจจุบัน
41
การกำหนดนามหน่วยและพื้นที่รับผิดชอบ ทภ.1
ลำดับ หน่วย จำนวนจังหวัด จังหวัดที่รับผิดชอบ 1 มทบ.11 5 กรุงเทพฯ, นนทบุรี, ปทุมธานี, นครปฐม, สมุทรปราการ, สมุทรสาคร 2 มทบ.12 3 ปราจีนบุรี, นครนายก, ฉะเชิงเทรา มทบ.13 4 อ่างทอง, สิงห์บุรี, ลพบุรี, ชัยนาท มทบ.14 ชลบุรี, ระยอง, จันทบุรี, ตราด มทบ.15 เพชรบุรี, ประจวบคีรีขันธ์ 6 มทบ.16 (ร.บ.) ราชบุรี, สมุทรสงคราม, สมุทรสาคร 7 มทบ.17 (ก.จ.) กาญจนบุรี, สุพรรณบุรี 8 มทบ.18 (ส.บ.) สระบุรี, อยุธยา 9 มทบ.19 (ส.ก.) สระแก้ว, จันทบุรี, ตราด
42
เขตพื้นที่ความรับผิดชอบ(ปัจจุบัน) ทภ.2
มทบ.21 นครราชสีมา, ชัยภูมิ บุรีรัมย์, สุรินทร์ หนองคาย. บึงกาฬ จทบ.บุรีรัมย์ : บุรีรัมย์ จทบ.สุรินทร์ : สุรินทร์ เลย นครพนม อุดรธานี สกลนคร มทบ.22 อุบลราชธานี, มุกดาหาร, ศรีสะเกษ, อำนาจเจริญ, ร้อยเอ็ด, ยโสธร . หนองบัวลำภู ขอนแก่น กาฬสินธิ์ มุกดาหาร จทบ.ร้อยเอ็ด : ร้อยเอ็ด, ยโสธร อำนาจเจริญ ชัยภูมิ มหาสารคาม มทบ ขอนแก่น, กาฬสินธิ์ มหาสารคาม, เลย ยโสธร ร้อยเอ็ด จทบ.เลย : เลย อุบลราชธานี มทบ อุดรธานี, หนองคาย, หนองบัวลำภู, บึงกาฬ นครพนม, สกลนคร ศรีสะเกษ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ จทบ.นครพนม : นครพนม จทบ.สกลนคร : สกลนคร
43
เขตพื้นที่ความรับผิดชอบ(ใหม่) ทภ.2
มทบ.21 นครราชสีมา, ชัยภูมิ มทบ.22 อุบลราชธานี, อำนาจเจริญ มทบ.23 ขอนแก่น, กาฬ สินธิ์ มทบ.24 อุดรธานี, หนองคาย มทบ.25 สุรินทร์, ศรีสะ เกษ มทบ.26 บุรีรัมย์, มหาสารคาม มทบ.27 ร้อยเอ็ด, ยโสธร มทบ.28 เลย, หนองบัวลำภู มทบ.29 สกลนคร, บึงกาฬ มทบ นครพนม, มุกดาหาร หนองคาย. บึงกาฬ เลย อุดรธานี นครพนม สกลนคร หนองบัวลำภู ขอนแก่น กาฬสินธิ์ มุกดาหาร อำนาจเจริญ ชัยภูมิ มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด อุบลราชธานี ศรีสะเกษ นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ หมายเหตุ : ทภ.2 มีการปรับเขตพื้นที่รับผิดชอบของ มทบ.22, 23, 24, จทบ.สุรินทร์, จทบ.บุรีรัมย์, จทบ.เลย, จทบ.สกลนคร, จทบ.นครพนม จากปัจจุบัน
44
การกำหนดนามหน่วยและพื้นที่รับผิดชอบ ทภ.2
ลำดับ หน่วย จำนวนจังหวัด จังหวัดที่รับผิดชอบ 1 มทบ.21 2 นครราชสีมา, ชัยภูมิ มทบ.22 อุบลราชธานี, อำนาจเจริญ, ศรีสะเกษ, มุกดาหาร 3 มทบ.23 ขอนแก่น, กาฬสินธุ์, มหาสารคาม 4 มทบ.24 อุดรธานี, หนองคาย, หนองบัวลำพู, บึงกาฬ 5 มทบ.25 (ส.ร.) สุรินทร์, ศรีสะเกษ 6 มทบ.26 (บ.ร.) บุรีรัมย์, มหาสารคาม 7 มทบ.27 (ร.อ.) ร้อยเอ็ด, ยโสธร 8 มทบ.28 (ล.ย.) เลย, หนองบัวลำภู 9 มทบ.29 (ส.น.) สกลนคร, บึงกาฬ 10 มทบ.210 (น.พ.) นครพนม, มุกดาหาร
45
เขตพื้นที่ความรับผิดชอบ(ปัจจุบัน) ทภ.3
เชียงราย มทบ นครสวรรค์, กำแพงเพชร, อุทัยธานี, ตาก, พิษณุโลก, สุโขทัย, เพชรบูรณ์, พิจิตร แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ พะเยา จทบ.ตาก : ตาก น่าน จทบ.พิษณุโลก : พิษณุโลก, สุโขทัย ลำปาง จทบ.เพชรบูรณ์ : เพชรบูรณ์, พิจิตร ลำพูน แพร่ มทบ ลำปาง, น่าน, พะเยา, อุตรดิตถ์, แพร่ อุตรดิตถ์ จทบ.น่าน : น่าน สุโขทัย จทบ.พะเยา : พะเยา ตาก พิษณุโลก จทบ.อุตรดิตถ์ : อุตรดิตถ์, แพร่ พิจิตร กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ มทบ เชียงใหม่, แม่ฮ่องสอน, ลำพูน, เชียงราย นครสวรรค์ จทบ.เชียงราย : เชียงราย อุทัยธานี
46
เขตพื้นที่ความรับผิดชอบ(ใหม่) ทภ.3
มทบ.31 นครสวรรค์, กำแพงเพชร, อุทัยธานี เชียงราย มทบ.32 ลำปาง แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ พะเยา มทบ.33 แม่ฮ่องสอน, เชียงใหม่, ลำพูน น่าน มทบ.34 พะเยา ลำปาง มทบ.35 อุตรดิตถ์, แพร่ ลำพูน แพร่ มทบ.36 เพชรบูรณ์, พิจิตร อุตรดิตถ์ มทบ.37 เชียงราย สุโขทัย ตาก มทบ.38 น่าน พิษณุโลก พิจิตร มทบ.39 พิษณุโลก, สุโขทัย กำแพงเพชร เพชรบูรณ์ มทบ ตาก นครสวรรค์ อุทัยธานี หมายเหตุ : ทภ.3 ไม่มีการปรับเขตพื้นที่รับผิดชอบจากปัจจุบัน
47
การกำหนดนามหน่วยและพื้นที่รับผิดชอบ ทภ.3
ลำดับ หน่วย จำนวนจังหวัด จังหวัดที่รับผิดชอบ 1 มทบ.31 3 นครสวรรค์, กำแพงเพชร, อุทัยธานี 2 มทบ.32 ลำปาง มทบ.33 แม่ฮ่องสอน, เชียงใหม่, ลำพูน 4 มทบ.34 (พ.ย.) พะเยา 5 มทบ.35 (อ.ต.) อุตรดิตถ์, แพร่ 6 มทบ.36 (พ.ช.) เพชรบูรณ์, พิจิตร 7 มทบ.37 (ช.ร.) เชียงราย 8 มทบ.38 (น.น.) น่าน 9 มทบ.39 (พ.ล.) พิษณุโลก, สุโขทัย 10 มทบ.310 (ต.ก.) ตาก
48
เขตพื้นที่ความรับผิดชอบ(ปัจจุบัน) ทภ.4
ชุมพร มทบ นครศรีธรรมราช(เว้นทุ่งสง), กระบี่, พังงา, ภูเก็ต, ชุมพร, ระนอง,อ.ทุ่งสง, ตรัง, สุราษฎร์ธานี ระนอง จทบ.ชุมพร : ชุมพร, ระนอง จทบ.ทุ่งสง : อ.ทุ่งสง จว.น.ศ, ตรัง สุราษฎร์ธานี จทบ.สุราษฎร์ธานี : สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พังงา กระบี่ มทบ สงขลา, พัทลุง, สตูล ปัตตานี, นราธิวาส, ยะลา ทุ่งสง ภูเก็ต ตรัง พัทลุง จทบ.ปัตตานี : ปัตตานี, นราธิวาส, ยะลา ปัตตานี สตูล สงขลา นราธิวาส ยะลา
49
เขตพื้นที่ความรับผิดชอบ(ใหม่) ทภ.4
ชุมพร มทบ นครศรีธรรมราช(เว้นทุ่งสง), ภูเก็ต ระนอง มทบ พัทลุง, สตูล, สงขลา มทบ อ.ทุ่งสง, กระบี่, ตรัง มทบ ชุมพร, ระนอง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช มทบ สุราษฎร์ธานี, พังงา พังงา กระบี่ มทบ ปัตตานี, นราธิวาส, ยะลา ทุ่งสง ภูเก็ต ตรัง พัทลุง หมายเหตุ : ทภ.4 มีการปรับเขตพื้นที่รับผิดชอบ ของ มทบ.41, จทบ.ทุ่งสง, และ จทบ.สุราษฎร์ธานี จากปัจจุบัน ปัตตานี สตูล สงขลา นราธิวาส ยะลา
50
การกำหนดนามหน่วยและพื้นที่รับผิดชอบ ทภ.4
ลำดับ หน่วย จำนวนจังหวัด จังหวัดที่รับผิดชอบ 1 มทบ.41 2 นครศรีธรรมราช (เว้น อ.ทุ่งสง), ภูเก็ต, กระบี่, พังงา มทบ.42 3 พัทลุง, สตูล, สงขลา มทบ.43 ตรัง, อำเภอทุ่งสง, กระบี่ 4 มทบ.44 (ช.พ.) ชุมพร, ระนอง 5 มทบ.45 (ส.ฎ.) สุราษฎร์ธานี, พังงา 6 มทบ.46 (ป.น.) ปัตตานี, ยะลา, นราธิวาส
51
ส่วนการฝึกศึกษาและหลักนิยม
หน้าที่ อำนวยการ และดำเนินการฝึก และศึกษากำลังพลของกองทัพบก เพื่อให้กำลังพลของกองทัพบก มีความรู้ ความสามารถ เหมาะสมตามตำแหน่งหน้าที่ อันจะทำให้ หน่วยต่างๆ ของกองทัพบกมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติ ภารกิจที่ได้รับมอบ 52 ส่วนการฝึกศึกษาและหลักนิยม หน้าที่ อำนวยการ และดำเนินการฝึก และศึกษากำลังพลของกองทัพบก เพื่อให้กำลังพลของกองทัพบก มีความรู้ ความสามารถ เหมาะสมตามตำแหน่งหน้าที่ อันจะทำให้หน่วยต่างๆ ของกองทัพบกมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติภารกิจที่ได้รับมอบ 24/01/63 51
52
การจัดส่วนการฝึกศึกษาและหลักนิยม
เดิม ทบ. ยศ.ทบ. รร.จปร. นสศ. ศบบ. รร.เหล่า และสายวิทยาการ ต่าง ๆ ศร. ศสพ. ศม. นสร. พบ. ศป. ศฝยว.ทบ. ศสร. ศพม. 54 เดิมมี สบส. สบส. วพม. วทบ. วพบ. รร.สธ.ทบ.
53
มาตรา 28 กรมยุทธศึกษาทหารบก มีหน้าที่วางแผน อำนวยการ ประสานงาน แนะนำ กำกับการ ดำเนินการ สนับสนุนและตรวจตราเกี่ยวกับกิจการสายวิทยาการ การฝึกและศึกษาของกำลังพลเป็นบุคคลและหน่วยต่างๆ ของกองทัพบกภายในประเทศและต่างประเทศ และกิจการอนุศาสนาจารย์ให้การฝึกและศึกษาแก่กำลังพลของกองทัพบกและนอกกองทัพบกในหลักสูตรต่างๆ ที่กองทัพบก มอบหมาย อำนวยการ ฝึกและศึกษาวิทยาการทุกเหล่าในกองทัพบก สถาบันการศึกษาและเหล่าสายวิทยาการ วิจัยและพัฒนา กำหนดหลักนิยมและยุทธศาสตร์ทางทหารทั้งปวงของกองทัพบก ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งปกครองบังคับบัญชาหน่วยทหารที่กระทรวงกลาโหมกำหนด มีเจ้ากรมยุทธศึกษาทหารบกเป็นผู้บังคับบัญชารับผิดชอบ 56 หน้าที่ ยศ.ใหม่ ที่รวม สบส.แล้ว ตามมาตรา 28 พ.ร.ฎ.แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ส่วนราชการกองทัพบกพ.ศ.2552 53 53
54
การจัดส่วนการฝึกศึกษาและหลักนิยม (ใหม่)
ทบ. ยศ.ทบ. รร.จปร. นสศ. ศบบ. รร.เหล่า และสายวิทยาการ ต่าง ๆ ศสพ. วทบ. รร.สธ.ทบ. นรด. พบ. ศร. ศสร. ศพม. 55 สบส. รวมกับ ยศ.ทบ. ศม. วพม. ศป. วพบ. ศฝยว.ทบ. 24/01/63 54
55
ส่วนพัฒนาประเทศ มีหน้าที่ รับผิดชอบการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาโดยเฉพาะ
- งานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ - งานโครงการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง 57 ส่วนพัฒนาประเทศ มีหน้าที่ รับผิดชอบการปฏิบัติงานด้านการพัฒนาโดยเฉพาะ - งานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ - งานโครงการพัฒนาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง 24/01/63 55
56
ส่วนพัฒนาประเทศ ทบ. พล.ช. ทภ.1 ทภ.2 ทภ.3 ทภ.4 พล.พัฒนา 1 พล.พัฒนา 2
24/01/63 ทบ. พล.ช. ทภ.1 ทภ.2 ทภ.3 ทภ.4 59 เอาอีกแล้ว ทภ เป็นส่วนช่วยการพัฒนาประเทศด้วย งงไหม อย่างง จัดหน่วยเพื่อเอามาใช้งาน ไม่ได้เอามาสอบ พล.พัฒนา 1 พล.พัฒนา 2 พล.พัฒนา 3 พล.พัฒนา 4 24/01/63 56 56
57
วิธีการจัดส่วนราชการของกองทัพบก
24/01/63 วิธีการจัดส่วนราชการของกองทัพบก สำหรับช่วงที่ผ่านมาจะเป็นการบรรยายถึง ภารกิจของกองทัพบก ซึ่งได้เท้าความถึงความเป็นมา โดยเนื้อหาหลักๆแล้วจะกล่าวตาม พ.ร.บ.จัดระเบียบราชการ กห. พ.ศ.2551 เพื่อให้ส่วนราชการของกองทัพบก ปฏิบัติหน้าที่อันมีกฎหมายรองรับ จึงได้มีการตราเป็นพระราชกฤษฎีกา แบ่งส่วนราชการและกำหนดหน้าที่ของส่วนราชการ กองทัพบก กองทัพไทย กระทรวงกลาโหม พ.ศ.2552 ในส่วนต่อไปจะเป็นการกล่าวถึงการจัดและโครงสร้างภายในกองทัพบก ซึ่งเนื้อหาที่จะกล่าวต่อไป จะเป็นไปตาม พ.ร.ฎ. ดังกล่าว หลักการจัดและวิธีปรับปรุงอัตราของกองทัพบก 57
58
รูปแบบการจัดหน่วยของกองทัพบก
อัตราการจัดและยุทโปกรณ์ (อจย.) ; Table of Equipment and Organization (TE&O) - เป็นอัตรารูปแบบหนึ่งของ ทบ. ที่ใช้ในการจัดหน่วยซึ่งกำหนดภารกิจทั้งในยามปกติและสงคราม - กำหนดการจัดหน่วยทั้ง อัตรากำลังพล และ ยุทโธปกรณ์ โดยที่มีความสัมพันธ์กัน ทั้งในอัตราเดียวกัน และกับอัตราอื่น - มักจะใช้จัดหน่วยทางยุทธวิธีในสนาม หน่วยที่ต้องมีการใช้ยุทโธปกรณ์ อัตราเฉพาะกิจ (อฉก.) ; Table of Distribution and Alloeance (TDA) - เป็นอัตรารูปแบบหนึ่งของ ทบ. ซึ่งกำหนดรูปโครงสร้าง การจัด กำลังพลและสิ่งอุปกรณ์ตามปริมาณงาน - เป็นรูปแบบเฉพาะของหน่วย เป็นอัตราของหน่วยเอง - มักจะใช้จัดหน่วยที่ไม่ปฺฏิบัติการทางยุทธวิธี
59
สรุปรูปแบบอัตราที่ใช้จัดหน่วยของ ทบ.
อัตราการจัดและยุทโปกรณ์ (อจย.) ตอนที่ 1 กล่าวทั่วไป ตอนที่ 2 ผังการจัด ตอนที่ 3 อัตรากำลังพล ตอนที่ 4 อัตรายุทโธปกรณ์ อัตราการจัดและยุทโปกรณ์ (อจย.) ตอนที่ 1 กล่าวทั่วไป ตอนที่ 2 ผังการจัด ตอนที่ 3 อัตรากำลังพล ตอนที่ 4 อัตรายุทโธปกรณ์ อัตราเฉพาะกิจ (อฉก.) ตอนที่ 1 กล่าวทั่วไป ตอนที่ 2 ผังการจัด ตอนที่ 3 อัตรากำลังพล ตอนที่ 4 คำชี้แจง ตอนที่ 5 อัตรายุทโธปกรณ์ คำสั่งใช้ระบบ ชกท.(กพ.ทบ.) บัญชีรายชื่อยุทโธปกรณ์ของ ทบ. อัตรามูลฐานกระสุนและวัตถุระเบิด อัตราลูกจ้างประจำ อัตราพนักงานราชการ
60
รูปแบบการจัดหน่วยของกองทัพบก
อัตราเฉพาะกิจ (อฉก.) Table of Distribution เป็นอัตราของหน่วยเฉพาะของหน่วย (รับรองจาก กห.) โครงสร้างและอัตราพิจารณาตาม ปริมาณงาน การจัดเฉพาะกิจ (ฉก.) Task Organization ไม่ใช่อัตราแต่เป็นการจัดหน่วยตามภารกิจที่ไม่ได้รับปฏิบัติโดยตรง หรือไม่ใช่พันธกิจหลัก(Core Function) การจัดพิจารณาจากรูปแบบของภารกิจที่หน่วยต้องเข้าปฏิบัติ เช่น กกล.980, กกล.ป้องกันชายแดน, รูปแบบของหน่วย ม.หรือ ทร.ที่เข้า ทำการรบ
61
หลักการจัดโดยทั่วไป การจัดหน่วย ทบ. สอดคล้องกับ พ.ร.ฎ.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ ข้อที่ 1 กำหนดภารกิจและขอบเขตความรับผิดชอบโดยแน่นอน ข้อที่ 2 กำหนดให้หน่วยงานนั้นได้มีกำลังเจ้าหน้าที่และยุทโธปกรณ์ต่างๆ ตามสัดส่วนของขนาดหน่วย ข้อที่ 3 กำหนดความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และระหว่างหน่วยงานย่อยของ หน่วยงานนั้นไว้โดยแน่นอน ข้อที่ 4 การจัดให้มีรูปแบบหรือโครงสร้างของหน่วยที่สามารถขยายขึ้นได้ ข้อที่ 5 กำหนดให้ใช้กำลังพลทุกคนกับยุทโธปกรณ์และเครื่องมือทุกชิ้นให้ได้ ประโยชน์มากที่สุด
62
ข้อที่ 2 จัดให้มีช่วงการควบคุมที่เหมาะสม
หลักการจัดทางทหาร ข้อที่ 1 จัดให้มีเอกภาพในการบังคับบัญชา ข้อที่ 2 จัดให้มีช่วงการควบคุมที่เหมาะสม ข้อที่ 3 จัดให้มีการบรรจุรวมที่เหมาะสม ข้อที่ 4 จัดให้มีการแบ่งมอบอำนาจให้ผู้ใต้บังคับบัญชา
63
การดำเนินงาน ของ กองทัพบก
24/01/63 การดำเนินงาน ของ กองทัพบก 24/01/63 63 63
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.