ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยGerhardt Fried ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ พ.ศ. 2561
การประชุมชี้แจ้งการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและ การบาดเจ็บ พ.ศ. 2561 วันที่ 17 ตุลาคม เวลา 1๒.00 – 1๒.30 น. ดร. กมลทิพย์ วิจิตรสุนทรกุล สำนักโรคไม่ติดต่อ
2
การสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ Behavioral Risk Factor Surveillance System
เป็นระบบข้อมูล เพื่อการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมเสี่ยงโรค ไม่ติดต่อ ดำเนินการด้วยการสำรวจตัวอย่าง (sample survey) เพื่อ ประมาณค่าประชากรด้วยความชุก (% หรือ proportion) ค่าเฉลี่ย (mean) อัตราส่วน (ratio) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน (standard error) มีการติดตามการเปลี่ยนแปลงด้วยตัวชี้วัดทางสุขภาพ (health indicator) เริ่มมาตั้งแต่ พ.ศ จัดทำโครงการการสำรวจพฤติกรรม เสี่ยงและการบาดเจ็บ มีรอบการสำรวจทุก 3 ปี สำรวจทั้งประเทศ (76 จังหวัด) สำรวจเขตสคร. (38 จังหวัด) สำรวจนำร่อง Online เขตสคร.9 สำรวจเขตสุขภาพ (24 จังหวัด) สำรวจจังหวัด มี 21 จังหวัด พ.ศ. 2548 พ.ศ. 2550 พ.ศ. 2553 พ.ศ. 2557 พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2561
3
พ.ศ. ๒๕๖๑ สำรวจระดับ ๒๑ จังหวัด เขต จังหวัด ภาคเหนือ ภาคใต้ 1 เชียงใหม่ ๑๑ นครศรีธรรมราช เชียงราย สุราษฎร์ธานี ๒ พิษณุโลก ๑๒ สงขลา ๓ นครสวรรค์ ปัตตานี ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ๔ ปทุมธานี ๗ ร้อยเอ็ด พระนครศรีอยุธยา ๘ อุดรธานี ๕ ราชบุรี ๙ นครราชสีมา สมุทรสาคร บุรีรัมย์ ๖ สมุทรปราการ ๑๐ อุบลราชธานี สระแก้ว ศรีสะเกษ สปคม. กรุงเทพมหานคร ๑. จำนวนหน่วยตัวอย่าง จังหวัดละ 2,๐1๖ ราย ๒. จำนวนหน่วยตัวอย่างของกรุงเทพฯ ๔,๐๐๐ ราย สนับสนุนงบประมาณ เก็บข้อมูลโดย สสส. ทั้ง ๒๑ จังหวัด รายงานผลระดับจังหวัด * มีเขต ๒, เขต ๓, เขต ๗ และเขต ๘ สำรวจ ๑ จังหวัด
4
แผนการดำเนินงาน BRFSS 2561
5
หน่วยงาน การสนับสนุนงบประมาณ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคเขต
สำนัก NCD สนับสนุนงบประมาณ ให้สคร. 12,๒๕๐ บาท ต่อจังหวัด สำหรับ 1. จัดการอบรมการเก็บข้อมูลให้จังหวัด ๒. นิเทศ คุณภาพข้อมูลการสำรวจ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด สำนัก NCD สนับสนุนงบประมาณ การเก็บข้อมูล ๒๖๒,๐๘๐ บาทต่อจังหวัด *** งบสสส. *** ๑. เก็บข้อมูล 11๐ บาท x ๒,๐๑๖ ราย = ๒๒๑,๗๖๐ บาท ๒. ค่าแบบสัมภาษณ์ ๒๐ บาท x ๒,๐๑๖ ราย = ๔๐,๓๒๐ บาท สำนักโรคไม่ติดต่อ ๑. จัดประชุมชี้แจงการดำเนินงานโครงการฯ และการวัดทางสุขภาพ ๓ วัน : เดือนธันวาคม : สคร. และ จังหวัด) ๒. นิเทศ คุณภาพข้อมูลการสำรวจ ร่วมกับ สคร.
6
ขอบพระคุณมากค่ะ ☺☻ พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม มิถุนายน สำนัก NCD
1. สุ่มตัวอย่าง แจ้งรายชื่อcluster ให้ สคร. และ จังหวัดทราบ 2. พัฒนา application program จัดอบรม สคร+ จังหวัด 2. จัดส่งรายชื่อหน่วยตัวอย่าง cluster เก็บข้อมูล ให้ สคร. และ จังหวัด 1. ทดสอบระบบเก็บข้อมูล 2. เปิดระบบเก็บข้อมูลออนไลน์ ระยะ ๖ เดือน (มค.- มิย. ๒๕๖๑) ๓. นิเทศคุณภาพข้อมูล ปิดระบบการเก็บข้อมูล สคร. 1. ส่งรายชื่อผู้ประสานงาน เข้ารับการอบรม & ชี้แจงการดำเนินงานของสำนัก 2. จัดการอบรมทีมเก็บข้อมูลให้จังหวัด 3. ส่งแผนนิเทศคุณภาพข้อมูลให้ สำนัก NCD 1. อบรมทีมเก็บข้อมูลให้จังหวัด 2. นิเทศคุณภาพข้อมูล จังหวัด 2. ส่งรายชื่อผู้ประสานงาน 3. เตรียมผู้เก็บข้อมูล 1. เข้ารับการอบรม & ชี้แจงการดำเนินงานของสำนัก 2. ผู้เก็บข้อมูลทำสัญญาเก็บข้อมูล กับ สำนัก ncd 3. ส่งแผนการเก็บข้อมูล ให้ สคร. และ สำนัก NCD 1. ทีมเก็บข้อมูลจังหวัด รับการอบรม 2. เก็บข้อมูลสำรวจ ขอบพระคุณมากค่ะ ☺☻
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.