งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน
การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน นพ ไพฑูรย์ สมุทรสินธุ์ ธค

2 เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา
เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา นิยาม ผู้ป่วยจิตเวชที่จำเป็นต้องได้รับการรักษา เกินขีดความสามารถของหน่วยบริการ กำหนดร่วมกันในหน่วยบริการของเขตบริการเดียวกัน

3 เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา (ต่อ)
เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา (ต่อ) เกณฑ์การประเมิน ก. อาจเป็นผู้ป่วยจิตเวชที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา 1. พบเห็น/ประวัติที่เชื่อได้ว่ามีพฤติกรรมที่เกิดอันตราย/เสี่ยงต่อตัวเอง ฆ่าตัวตาย, บกพร่องในการดูแลตัวเองมาก,มีพฤติกรรมที่อาจนำอันตรายมาสู่ต่อตัวเอง

4 เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา (ต่อ)
เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา (ต่อ) 2. พบเห็น/ประวัติที่เชื่อได้ว่ามีพฤติกรรมที่เกิดอันตราย/เสี่ยงต่อคนอื่น ทำร้ายร่างกาย, พกอาวุธพร้อมก่อเหตุ, ทำร้ายสัตว์/วางเพลิง/ทำลายข้าวของ, ล่วงละเมิดทางเพศ, พฤติกรรมทำให้คนอื่นหวาดกลัวมาก ผู้ป่วยจิตเวชที่อยู่ระหว่างดำเนินคดี 4. ผู้ป่วยจิตเวชที่รับการรักษาแบบผู้ป่วยใน นานกว่า14วัน อาการยังไม่ดีขึ้น

5 เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา (ต่อ)
เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา (ต่อ) ข. เป็นผู้ป่วยจิตเวชที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา ได้รับการประเมินว่าอาจเป็นผู้ป่วยจิตเวชที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษาและ ได้รับการประเมินโดยแพทย์อย่างน้อย 2คน (จิตแพทย์ 1คน)

6 เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา (ต่อ)
เกณฑ์การประเมินผู้ป่วยจิตเวช ที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา (ต่อ) แนวทางสำหรับผู้ปฎิบัติงาน 1. กรณีประเมินว่าอาจเป็นผู้ป่วยจิตเวชที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา ตามเกณฑ์ข้อ ก. รายงานแพทย์ผู้รับผิดชอบ หรือปรึกษาจิตแพทย์ทุกรายโดยเร็วที่สุด 2. กรณีประเมินว่าเป็นผู้ป่วยจิตเวชที่มียุ่งยากซับซ้อนในการรักษา ตามเกณฑ์ข้อ ข. ให้พิจารณารับไว้ในหน่วยบริการที่มีความพร้อม หรือส่งต่อไปรพ.จิตเวชตามข้อตกลงร่วมกันระหว่างหน่วยงาน

7 แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต คำจำกัดความ 1.ผู้ป่วยจิตเวชที่ได้รับการวินิจฉัย 1ปี ได้แก่ schizophrenia, bipolar disorder, major depressive disorder (ยกเว้นกลุ่มปัญหาพัฒนาการและสารเสพติด) ส่งผลต่อพฤติกรรมรุนแรง/ ทำให้เกิดทุพลภาพรุนแรง จำเป็นต้องได้รับการเฝ้าระวังดูแลป้องกันการกำเริบซ้ำ

8 แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ต่อ) แนวคิดการจัดการ 1. จัดลำดับ/วิเคราะห์ กลุ่มSMI ที่มีโอกาสเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง 2. พัฒนากระบวนการวิเคราะห์ปัญหาของผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง 3. วางระบบ/รูปแบบการจัดการปัจจัยเสี่ยง/ป้องกันการกำเริบซ้ำ 4. ระบบฐานข้อมูล เพื่อร่วมกันติดตามระหว่างรพจิตเวช+รพในเขต

9 แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ต่อ) เป้าหมายความดูแล ลดการก่อความรุนแรงต่อตนเอง/ผู้อื่น ลดการกลับเป็นซ้ำ เพิ่มคุณภาพชีวิตผู้ป่วย ลดตราบาปให้กับสังคม

10 แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ต่อ) เกณฑ์การจำแนก ผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) ได้แก่ ผู้ป่วยโรคจิตเภท โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้ว ที่มีภาวะอันตรายสูง และที่มีความเสี่ยงที่จะเกิดอันตรายสูง มีเกณฑ์การจำแนก ดังนี้

11 แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ต่อ) เกณฑ์การจำแนก 1. มีประวัติทำร้ายตัวเองด้วยวิธีรุนแรงหวังให้เสียชีวิต 2. มีประวัติทำร้ายผู้อื่นด้วยวิธีรุนแรง/ก่อเหตุรุนแรงในชุมชน มีอาการหลงผิด มีความคิดทำร้ายผู้อื่นให้ถึงแก่ชีวิต/มุ่งร้ายผู้อื่นแบบเฉพาะเจาะจง 4. มีประวัติก่อคดีอาญารุนแรง(ฆ่า พยายามฆ่า ข่มขืน วางเพลิง)

12 แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ต่อ) แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูง ต่อการก่อความรุนแรงที่ไม่มีคดี การคัดกรองเบื้องต้น การตรวจรักษา 3. การประเมินความเสี่ยง การติดตามผู้ป่วย 5. การส่งต่อข้อมูลให้เครือข่าย

13 แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ต่อ) กระบวนการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ต่อเนื่องในชุมชน 1. ระบบการส่งต่อข้อมูลให้เครือข่าย ทางโทรศัพท์ / ผ่านโปรแกรม/ แบบส่งต่อข้อมูลเครือข่าย 2. ระบบการติดตาม การติดตามเยี่ยม 1ครั้งใน1เดือน/ การใช้ระบบนัด,ขาดนัดตามใน 1 สัปดาห์/ ติดตามข้อมูลการรักษาทุก 3เดือน 1ปี หลังจากนั้นทุก 6เดือน 3. ระบบการส่งต่อกรณีฉุกฉิน จัดให้มีช่องทางด่วนรับส่งต่อ

14 แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ต่อ) แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูง ต่อการก่อความรุนแรงที่มีคดี 1. พิจารณารับไว้เป็นผู้ป่วยใน จาก อาการ /ความรุนแรงของโรค /ภาวะอันตรายต่อตัวเองหรือผู้อื่น 2. ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา ม. 14 3. ประมวลกฎหมายอาญา ม. 48 4. ประมวลกฎหมายอาญา ม. 56 5. พ.ร.บ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551

15 แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง ( Serious Mental Illness with High Risk to Violence) สำหรับสถาบัน/รพ.จิตเวชในสังกัดกรมสุขภาพจิต(ต่อ) การจำหน่ายผู้ป่วย 1. ประสานงานพื้นที่/ญาติ/ เรือนจำ/ ศาล/ ตำรวจ/ สถานสงเคราะห์ ส่งต่อข้อมูลการรักษาให้กับพื้นที่ที่จำหน่ายผู้ป่วย เมื่อส่งผู้ป่วยกลับชุมชน ให้ส่งข้อมูลให้แก่ สสจ./ รพช.หรือรพท./ รพ.ที่มีจิตแพทย์ในพื้นที่ หน่วยงานที่ดูแลต่อให้รายงานผลการรักษามาที่รพ.จิตเวชที่จำหน่าย ทุก30วัน3ครั้ง แล้วทุก90วันจนครบ1ปี (พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ.2551)

16 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยจิตเวช รุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google