ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
โครงการปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2559
โครงการปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ปี 2559 โดย นางพรรณาภา ปรัชญาศิริ ผู้อำนวยการกลุ่มทะเบียนเกษตรกร ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กรมส่งเสริมการเกษตร
2
บันทึกข้อมูลเข้าระบบ
ทะเบียนเกษตรกร ขอขึ้นทะเบียนใหม่พร้อมแนบหลักฐานเอกสารสิทธิ์ เกษตรกรแจ้งยืนยัน ปรับปรุงข้อมูล 1.การขึ้นทะเบียน รายใหม่/แปลงใหม่ รายเดิม บันทึกข้อมูลเข้าระบบ พืชอื่นๆ เฉพาะพืชเศรษฐกิจสำคัญ ตรวจสอบพื้นที่จริง ติดประกาศรายชื่อ/ข้อมูล ปรับลด/เพิกถอนสิทธิ์และดำเนินคดีตามกฎหมาย คัดค้าน ไม่คัดค้าน ไม่ถูก ถูกต้อง 3.การนำไปใช้ประโยชน์ 2.พิมพ์สมุดทะเบียนเกษตรกร ข้อมูลในสมุดทะเบียนเกษตรกรจะใช้แสดงความเป็นตัวตนของเกษตรกรเท่านั้น กรณีการขอใช้สิทธิการเข้าร่วมโครงการรัฐ จะต้องมีระบบการตรวจสอบข้อมูลและรับรองสิทธิ์การเข้าร่วมโครงการ กำหนดให้มีคณะกรรมการตรวจสอบรับรองสิทธิ์ของเกษตรกร ซึ่งประกอบด้วยหน่วยงานต่างๆที่ไม่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานที่รับขึ้นทะเบียนเกษตรกร เพื่อความโปร่งใสของการทำงาน ข้อมูลพื้นฐาน ภาพถ่าย เลขประจำตัวประชาชน ที่อยู่ เลขรหัสประจำบ้าน QR Code ลักษณะการประกอบอาชีพ สมาชิกในครัวเรือน (เลขประจำตัวประชาชน เพศ วันเดือน ปี เกิด การเป็นสมาชิกองค์กร) การผลิตการเกษตร เนื้อที่ปลูก/เลี้ยง ชนิดพันธุ์ วันที่ปลูก/เลี้ยง วันเก็บเกี่ยว การถือครองที่ดิน เอกสารสิทธิ์ พื้นที่ พิกัดที่ตั้ง การถือครอง ตรวจเยี่ยม ให้ความรู้ สอบถามประเมินการใช้เทคโนโลยี MRCF
3
การเปลี่ยนแปลง เดิม ปัจจุบัน ยกเลิกทะเบียนข้อมูล ทพศ
(พืชเศรษฐกิจสำคัญ ได้แก่ ข้าว มันสำปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) รวมข้อมูลเดิมเข้าสู่ฐานทะเบียนเกษตรกร (ทบก) 2. ยกเลิก การพิมพ์รายชื่อเกษตรกรผู้ปลูกข้าว ออกไปยืนยัน เปลี่ยนเป็น พิมพ์รายชื่อข้อมูลรายครัวเรือน นำไปปรับปรุงทุกพืช/กิจกรรม 3 ยกเลิก การพิมพ์ใบรับรอง ใช้สมุดทะเบียนเกษตรกร 4 บันทึก ชื่อ สกุล เลขประตำประชาขน และที่อยู่ ตามทะเบียนบ้าน ใช้บัตรประชาชน เสียบเข้าเครื่องอ่านบัตร ดึงข้อมูลมาจากสำนักทะเบียนราษฎร กระทรวงมหาดไทย เพิ่มที่อยู่ที่สามารถติดต่อได้
4
เดิม ปัจจุบัน 5. บันทึกข้อมูล สมาชิกในครัวเรือน เลขประจำตัวประชาชน วัน เดือน ปีเกิด ไม่ต้องบันทึก ระบบดึงข้อมูลมาจากทะเบียนราษฏร์ 6.จัดเก็บข้อมูลพิกัดแปลงปลูก (ทราบที่ตั้ง ) จัดเก็บข้อมูลแปลงปลูก ในรูป shape file ( ทราบที่ตั้ง และขนาดเนื้อที่) 7 ตรวจสอบพื้นที่จริงโดยการเดินสำรวจ ใช้เครื่อง GPS วัด เพิ่มโปรแกรมตรวจสอบพื้นที่จากภาพถ่ายดาวเทียม ได้แก่ GISagro และ TAMIS 8 หน่วยรับขึ้นทะเบียน คือ สำนักงานเกษตรอำเภอ (882 แห่ง) เพิ่มหน่วยรับขึ้นทะเบียน ระดับตำบล มี อกม.เป็นผู้ช่วย 9พิมพ์ผลการขึ้นทะเบียน ทางสมุดทะเบียนเกษตรกร เพิ่ม ระบบ รายงานสารสนเทศ สำหรับผู้บริหาร พร้อมรายงานในรูปแบบแผนที่ 10 ข้อมูลข้าว แบ่งเป็น 2 รอบ นาปี/นาปรัง รอบการผลิต 12 เดือน เริ่มต้นเดือนพฤษภาคม ให้เกษตรกรแจ้งเพิ่มข้อมูลปลูกทุกครั้งที่มีการปลูกใหม่ในที่แปลงนั้น
5
เดิม ปัจจุบัน 11 มี แอปพลิเคชั่น เป็น M book 3 เรื่อง คือ การขึ้น/ปรับปรุงทะเบียนเกษตรกรปี การใช้ TAMIS การใช้ GISagro 12 เพิ่มเติมข้อมูล รายได้ หนี้สิน การใช้เครื่องจักรกลเกษตร และ ข้อมูลแหล่งน้ำ 13 เพิ่มเติมการเลี้ยงแมลงเศรษฐกิจ 14 เพิ่มเติม สภาพการทำการเกษตร (อินทรีย์ ยั่งยืน ฯลฯ) 15 เชื่อมโยงข้อมูลทะเบียนผู้เลี้ยงสัตว์ และทะเบียนผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ จัดพิมพ์ลงสมุดทะเบียนเกษตรกร
6
รายละเอียดเป้าหมาย/งบประมาณ
รายการ จัดสรรให้ รายละเอียดเป้าหมาย/งบประมาณ 1 เตรียมการ/ประมวลผล/สรุปข้อมูล/ติดตามนิเทศ 1.1 ติดตามนิเทศ สสก. 50,000 – 70,000 บาท 1.2 อบรมจัดเก็บข้อมูล และวาดแปลงโดยระบบ GISagro และ TAMIS 1.2.1 สสก. จัดอบรมให้ สนง.กษอ. รวม 882 คน 2 วัน วันละ 1,300 บาท 1.2.2 สนง.กษอ. จัดอบรมให้ อกม. จัดเก็บข้อมูล วาดแปลง สนง.กษจ./สนง.กษอ. เป้าหมาย อกม. อกม. 1 คน จะรองรับครัวเรือน 500 ครัวเรือน หากใช้เวลาดำเนินงาน 50 วัน จะต้องจัดเก็บข้อมูลวันละ 10 ครัวเรือน/วัน/คน จัดสรรงบอบรม อกม รายละ 100 บาท
7
รายละเอียดเป้าหมาย/งบประมาณ
รายการ จัดสรรให้ รายละเอียดเป้าหมาย/งบประมาณ 2 ปรับปรุงข้อมูล 2.1 เป้าหมายครัวเรือน รวม 6,512,908 ครัวเรือน (ณ วันที่ 1 พ.ค. 59) 2.2 จัดพิมพ์แบบฟอร์ม สนง.กษจ./สนง.กษอ. ครัวเรือนละ 2 บาท 2.3 ดำเนินการปรับปรุงข้อมูล ครัวเรือนละ 5 บาท (เบิกจ่าย ก่อน 30 สิงหาคม 2559) 3 ตรวจสอบพื้นที่ วาดแปลง 3.1 เป้าหมายครัวเรือน ร้อยละ 10 ของครัวเรือนทั้งหมด คิดเป็น 650,000 ครัวเรือน 3.2 ดำเนินการตรวจสอบพื้นที่ วาดแปลง รายละ 10 บาท (แปลงใหม่ , แปลงไม่มีเอกสารสิทธิ์ , แปลงเช่า)
8
การนำไปใช้ประโยชน์อื่นๆ
ผู้ใช้ข้อมูล ฐานข้อมูลเกษตรกร การปรับปรุงทะเบียนเกษตรกร ข้อมูลในSmart Card 5 แสนฟาร์ม 6.5 ล้านครัวเรือน โปรแกรม GISAGRO เชื่อมโยงฐานข้อมูล โครงการช่วยเหลือของรัฐบาล 2.4 ล้านครัวเรือน ฐานข้อมูลสำรองในระบบCloud หน่วยงานอื่นๆ ฐานข้อมูลการบริหารจัดการด้านการเกษตร 1.2 ล้านครัวเรือน สถานการณ์การปลูกพืช Zoning สมุดทะเบียนเกษตรกร การวางแผนการผลิตพืชในเขตชลประทาน ข้อมูลพื้นฐาน ภาพถ่าย เลขประจำตัวประชาชน ที่อยู่ เลขรหัสประจำบ้าน QR Code ลักษณะการประกอบอาชีพ รายได้ในภาคฯ สมาชิกในครัวเรือน (การเป็นสมาชิกองค์กร รายได้ หนี้สินนอกภาค) การใช้เครื่องจักรกล การถือครองที่ดิน เอกสารสิทธิ์ พื้นที่ พิกัดที่ตั้ง การถือครอง การผลิตการเกษตร เนื้อที่ปลูก/เลี้ยง ชนิดพันธุ์ วันที่ปลูก/เลี้ยง วันเก็บเกี่ยว การใช้แหล่งน้ำ การนำไปใช้ประโยชน์อื่นๆ ข้อมูลสารสนเทศการเพาะปลูก การถือครองที่ดิน ช่วงเวลาเก็บเกี่ยวผลผลิต การได้รับประโยชน์โครงการของรัฐ การเกิดภัยพิบัติ การประกันภัยพืชผล บอกความเป็นตัวตน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.