ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน
บทที่ 4 การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
2
ความหมายของทำเลที่ตั้ง
สถานที่ดำเนินการผลิตสินค้าตามความต้องการของผู้บริโภค และสามารถประกอบกิจกรรมได้สะดวกที่สุด โดยคำนึงถึงกำไร ค่าใช้จ่าย ความสัมพันธ์กับลูกค้า ความสัมพันธ์กับพนักงาน และสภาพแวดล้อมจากภายนอกอื่นๆ การเลือกสถานที่ตั้งโรงงาน ทำเลที่ตั้ง(Location) มีบทบาทต่อการออกแบบระบบการผลิต ต้นทุนการตั้งราคา และการดำเนินกิจการผลิตให้มีประสิทธิภาพ ดังนั้นการเลือกทำเลที่ตั้งจึงต้องพิจารณาปัจจัยที่เกี่ยวข้องอย่างรอบคอบและมีขั้นตอนในการตัดสินใจ
3
ปัจจัยการเลือกทำเลที่ตั้ง
แหล่งวัตถุดิบ(Raw material resource) น้ำหนักไม่เปลี่ยนหรือเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย โรงงานควรอยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบ น้ำหนักลดลงหรือเปลี่ยนแปลงไปมาก โรงงานควรอยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบ เมื่อวัตถุดิบมีอยู่ทั่วไป โรงงานควรอยู่ใกล้ตลาด เมื่อวัตถุดิบเป็นของเน่าเสียง่าย โรงงานควรอยู่ใกล้แหล่งวัตถุดิบ
4
ปัจจัยการเลือกทำเลที่ตั้ง(ต่อ)
แหล่งแรงงาน(Labor) นโยบายการจ้างแรงงาน จำนวนแรงงาน ระดับความรู้ความสามารถ ทัศนคติของบุคคลในท้องถิ่น ที่ตั้งของตลาดหรือแหล่งจำหน่าย(Location of markets) แนวโน้มรายได้ประชากร จำนวนประชากร คุณสมบัติของลูกค้า แนวโน้มเกี่ยวกับยอดขาย ตลาดอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง คู่แข่งขัน
5
ปัจจัยการเลือกทำเลที่ตั้ง(ต่อ)
ที่ดิน(Land) ราคาที่ดิน ลักษณะที่ดิน การส่งเสริมการลงทุน(Investment Promotion) การขนส่ง(Transportation) ความสะดวกรวดเร็ว ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง ความปลอดภัย จุดหมายปลายทางของการขนส่ง ช่วงระหว่างแหล่งวัตถุดิบกับโรงงาน ช่วงระหว่างโรงงานกับตลาด
6
ปัจจัยการเลือกทำเลที่ตั้ง(ต่อ)
พลังงาน(Energy) สาธารณูปโภค(Public service) Pollution Social Responsibility นโยบายรัฐบาล(Policies of government ) ภาษีการค้า ภาษีบำรุงท้องที่ ภาษีที่ดิน และภาษีอื่นๆ
7
การวิเคราะห์ปัจจัยในการเลือกทำเลที่ตั้งโรงงาน
ประกอบด้วย 5 วิธี วิธีให้คะแนน(Rating Plan) วิธีเปรียบเทียบค่าใช้จ่าย(Cost Comparison ) วิธีวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของทำเลที่ตั้ง(Location BEP analysis) วิธีเปรียบเทียบระยะทาง(Distance Comparison) วิธีการวิเคราะห์ด้วยตัวแบบการขนส่ง(Transportation Model)
8
วิธีให้คะแนน(Rating Plan) : ชั่ง น.น. ปัจจัย
9
วิธีเปรียบเทียบค่าใช้จ่าย(Cost Comparison )
10
มูลค่าปัจจุบัน (Present Value) : Hypothesis
สมมติฐาน - โรงงานอายุการใช้งาน 10 ปี อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาดใน อนาคต 10%
11
ทำเล ข ดีที่สุด เพราะเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด 17,128 (พันบาท)
สรุป ทำเล ข ดีที่สุด เพราะเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด 17,128 (พันบาท)
12
วิธีวิเคราะห์จุดคุ้มทุนของทำเลที่ตั้ง(Location BEP analysis)
13
สร้างเส้นกราฟ ของแต่ละทำเล
14
สร้างเส้นรายได้
15
วิธีเปรียบเทียบระยะทาง (Distance Comparison)
Raw material resource Location Market
16
วิธีการ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งวัตถุดิบ ตลาด และค่าขนส่ง
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งวัตถุดิบ ตลาด และค่าขนส่ง กำหนดทำเลที่ชอบ 2 – 3 จุด ลากเส้นเชื่อมระหว่างแหล่งวัตถุดิบ ทำเลที่เลือก และตลาด คำนวณระยะทาง และค่าขนส่งรวมแต่ละทำเลที่ตั้ง ตัดสินใจเลือกทำเลที่ค่าขนส่งตำสุด
17
ตัวอย่างที่ 4.2 เลือกทำเลที่ตั้ง มีแหล่งวัตถุดิบ 1 แหล่ง ตลาดจำหน่าย 3 แหล่ง ค่าใช้จ่ายในการขนส่ง กิโลเมตรละ 16 บาท
18
วิธีการคำนวน รวบรวมข้อมูล กำหนดทำเลที่ชอบ ลากเส้นตรงเชื่อม
(ระหว่างแหล่งวัตถุดิบทำเลที่เลือกและตลาด)
19
คำนวณทำเล ก. ระยะทาง = = = 4.12 = 3 = 9 = 8.60
โดยการเปรียบเทียบเป็นรายคู่ คำนวณทำเล ก. : ทำเล ก. ตั้งอยู่ตำแหน่ง 2, 6 ระยะทางจากแหล่งวัตถุดิบ ถึงทำเล ก. = = = ระยะทางจาก ทำเล ก. ถึงตลาด 1 = = = = 3 ระยะทางจาก ทำเล ก. ถึงตลาด 2 = = = 9 ระยะทางจาก ทำเล ก. ถึงตลาด 3 = = = 8.60 รวมระยะทาง = =24.72 x = 2,472 กิโลเมตร ค่าขนส่งรวมกิโลเมตรละ บาท ดังนั้น ถ้า 2,472 กิโลเมตร = 2472 x 16 = 39,552 บาท
20
ตัดสินใจเลือกทำเลที่มีค่าขนส่งต่ำสุด
เลือกทำเล ค.(27,888 บาท)
21
การพิจารณาจากเส้นทางจริง
22
พื้นที่ (x, y) (ก.ม.) จำนวนประชากร A (4, 7) 10 B (5, 6) 7 C (11, 4) 16 D (3, 5) 9 E (14, 6) 22 F (9, 3) 4 รวม 68 ตัวอย่างที่ 4.3 ให้พิจารณาเลือกพื้นที่ที่เหมาะสมที่สุดในการดำเนินงานโดยพิจารณาจากระยะทางและจำนวนประชากร และคำนวณระยะทางจากจุดพื้นที่ A ไปยังพื้นที่ B ดังตารางข้อมูลของแต่ละพื้นที่ที่เหมาะสมในการดำเนินงาน
23
เราสามารถคำนวณระยะทางจากจุดพื้นที่ A ไปยังจุดพื้นที่ B ได้ดังนี้
เราสามารถคำนวณระยะทางจากจุดพื้นที่ A ไปยังจุดพื้นที่ B ได้ดังนี้ สูตรการคำนวณหาระยะทางจากจุด A ไปยัง จุด B Din = = = = กิโลเมตร
24
พื้นที่ (x, y) (ก.ม.) จำนวนประชากร
เลือกพื้นที่ที่เหมาะสมที่สุดในการดำเนินงานโดยพิจารณาจากระยะทางและจำนวนประชากรดังตาราง พื้นที่ (x, y) (ก.ม.) จำนวนประชากร A (4, 7) 10 B (5, 6) 7 C (11, 4) 16 D (3, 5) 9 E (14, 6) 22 F (9, 3) 4 รวม 68 LXI LYI 40 70 35 42 176 64 27 45 308 132 36 12 622 365
25
ให้คำนวณหาพื้นที่ที่มีศักยภาพที่เหมาะสม
สูตรการคำนวณ x* = = X* = 9.15 สูตรการคำนวณ y* = = y* = เลือกพื้นที่ที่ใกล้เคียง x = 9.15 และ y = คือ (9.15, 5.37) จุด F = (9, 3) หรือ จุด C = (11, 4)
26
วิธีการวิเคราะห์ด้วยตัวแบบการขนส่ง(Transportation Model)
กรณีที่ 1 โรงงานแห่ลงเดียวมีทำเลให้เลือกไม่จำกัด กรณีที่ 2 โรงงานหลายแห่ลงเดียวมีทำเลให้เลือกไม่จำกัด กรณีที่ 3 โรงงานหลายแหล่งโดยมีทำเลให้เลือกจำกัด
27
ตัวอย่างที่ 4. 5 โรงงาน มี 2 แห่ง มีตลาดสินค้า 2 แห่ง. 1. เมือง ก
ตัวอย่างที่ 4.5 โรงงาน มี 2 แห่ง มีตลาดสินค้า 2 แห่ง 1. เมือง ก. ผลิต หน่วย 2. เมือง ข. ผลิต หน่วย ความต้องการของตลาดเพิ่มขึ้น หน่วย ต้องการสร้าง โรงงาน แห่งที่ 3 ที่เมือง ค. หรือ ง ค่าขนส่ง จาก ไป อัตราค่าขนส่ง โรงงาน ก ตลาดสินค้าแห่งที่ บาทต่อหน่วย โรงงาน ก ตลาดสินค้าแห่งที่ บาทต่อหน่วย โรงงาน ข ตลาดสินค้าแห่งที่ บาทต่อหน่วย โรงงาน ข ตลาดสินค้าแห่งที่ บาทต่อหน่วย โรงงาน ค ตลาดสินค้าแห่งที่ บาทต่อหน่วย โรงงาน ค ตลาดสินค้าแห่งที่ บาทต่อหน่วย โรงงาน ง ตลาดสินค้าแห่งที่ บาทต่อหน่วย โรงงาน ง ตลาดสินค้าแห่งที่ บาทต่อหน่วย
28
การวิเคราะห์ตัวแบบการขนส่ง มี 3 ขั้นตอน
การวิเคราะห์ตัวแบบการขนส่ง มี 3 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1 คำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ค. ขั้นตอนที่ 2 คำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง. ขั้นตอนที่ 3 นำผลการคำนวณมาเปรียบเทียบ
29
วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ค.
1.สร้างตารางแสดงการขนส่ง ไปตลาดสินค้า จากโรงงาน 1 2 รวม จำนวนผลิต ก 200 _ ข 100 ค รวมจำนวนที่ต้องการ 400 1 2 2 3 3 5
30
วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ค.
1.สร้างตารางแสดงการขนส่ง ไปตลาดสินค้า จากโรงงาน 1 2 รวม จำนวนผลิต ก _ 200 ข 100 ค รวมจำนวนที่ต้องการ 400 1 2 2 3 3 5
31
วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ค.
วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ค. 1.สร้างตารางแสดงการขนส่ง ไปตลาดสินค้า จากโรงงาน 1 2 รวม จำนวนผลิต ก 100 200 ข _ ค รวมจำนวนที่ต้องการ 400 1 2 2 3 3 5
32
วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ค.
1.สร้างตารางแสดงการขนส่ง ไปตลาดสินค้า จากโรงงาน 1 2 รวม จำนวนผลิต ก 100 200 ข _ ค รวมจำนวนที่ต้องการ 400 1 2 2 3 3 5
33
สรุป.ค่าขนส่งที่เกิดขึ้นถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมืองค.ประกอบด้วย
สรุป.ค่าขนส่งที่เกิดขึ้นถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมืองค.ประกอบด้วย (200*1 ) + ( 100*3 ) + (100*5) = 1,000 (200*2 ) + ( 100*2 ) + (100*3) = 900 (100*1 ) + ( 100*2 ) + ( 100*3 ) + (100*3) = 900 (100*1 ) + ( 100*2 ) + ( 100*2 ) + (100*5) = 1,000
34
วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง.
1.สร้างตารางแสดงการขนส่ง ไปตลาดสินค้า จากโรงงาน 1 2 รวม จำนวนผลิต ก 200 _ ข 100 ง รวมจำนวนที่ต้องการ 400 1 2 2 3 1 4
35
วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง.
วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง. 1.สร้างตารางแสดงการขนส่ง ไปตลาดสินค้า จากโรงงาน 1 2 รวม จำนวนผลิต ก _ 200 ข 100 ง รวมจำนวนที่ต้องการ 400 1 2 2 3 4 1
36
วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง.
วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง. 1.สร้างตารางแสดงการขนส่ง ไปตลาดสินค้า จากโรงงาน 1 2 รวม จำนวนผลิต ก 100 200 ข _ ง รวมจำนวน ที่ต้องการ 400 1 2 2 3 4 1
37
วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง.
วิธีคำนวณค่าขนส่งต่ำสุด ถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง. 1.สร้างตารางแสดงการขนส่ง ไปตลาดสินค้า จากโรงงาน 1 2 รวม จำนวนผลิต ก 100 200 ข _ ง รวมจำนวนที่ต้องการ 400 1 2 2 3 4 1
38
สรุป ค่าขนส่งที่เกิดขึ้นถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง.ประกอบด้วย
สรุป ค่าขนส่งที่เกิดขึ้นถ้าเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง.ประกอบด้วย (200*1 ) + ( 100*3 ) + (100*1) = 600 (200*2 ) + ( 100*2 ) + (100*4) = 1,000 (100*1 ) + ( 100*2 ) + ( 100*3 ) + (100*4) = 1,000 (100*1 ) + ( 100*2 ) + ( 100*2 ) + (100*1) = 600
39
ต้องการเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง.
ต้องการเพิ่มโรงงานแห่งที่ 3 ที่เมือง ง. เนื่องจากมีต้นทุนค่าขนส่งต่ำที่สุด = บาท
40
บทที่ 4 จบแล้วจ้า
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.