ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สังคมและการเมือง : 03751112 Social and Politics
: สังคมมนุษย์ : การอยู่ร่วมกันของมนุษย์ : การเมือง : กระบวนการอำนาจและการใช้ : ความสัมพันธ์ : มนุษย์กับการเมือง พรเทพ พัฒนานุรักษ์ เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ คณะวิทยาการจัดการ 1 : 20 ก.ค. 62
2
หมู่ 800 วันเสาร์ เวลา 9.00 - 12.00 น. ห้อง 10305
สังคมและการเมือง หน่วยกิต Social and Politics วัน/เวลา/สถานที่ : หมู่ 800 วันเสาร์ เวลา น. ห้อง 10305 หมู่ 850 วันเสาร์ เวลา น. ห้อง 10305 นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน - วันอังคาร/วันพุธ/วันศุกร์ เวลา / น. - วันเสาร์/วันอาทิตย์ เวลา / น. วันหรือเวลาที่เหมาะสม โดยนัดหมายศูนย์การเรียน คณะวิทยาการจัดการ : : : : Line ID : ts-ms-ku : Tel. :
3
วัตถุประสงค์ของวิชา (Objective of Subject) :
1. เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับสังคมและการเมือง กำเนิดสังคมและรัฐ องค์ประกอบระบบสังคมและการเมือง โครงสร้างทางสังคม วัฒนธรรม และการเมือง ตลอดจนกลุ่มและสถาบันทางสังคม 2. เพื่อให้นิสิตมีความเข้าใจระบบการเมืองและการปกครอง รูปแบบต่างๆ แนวความคิดและทฤษฎีทางสังคม วัฒนธรรมและ การเมือง อุดมการณ์และลัทธิทางการเมือง โครงสร้างการ ปกครอง สถาบันและพรรคการเมือง ระบบราชการ การมีส่วนร่วม และกลุ่มต่างๆ ทางการเมือง 3. เพื่อให้นิสิตสามารถวิเคราะห์ถึงพัฒนาการ การเปลี่ยนแปลงทาง สังคม วัฒนธรรมและการเมืองตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น การบริหารและ ปกครองประเทศสมัยใหม่ รวมทั้งปัญหาและอุปสรรคการพัฒนาสังคม และระบบการเมือง
4
1 2 คำอธิบายรายวิชา (Course Description) :
Sociological concept and theory, politics and cultures, origins of society and state, social structure and components, social and political institutions, social group and political system, political ideology and doctrines, political parties and governmental system, participation in politics, political development, social and political changes, and administration of modern country. 2 แนวคิดและทฤษฎีทางสังคม การเมืองและวัฒนธรรม กำเนิดสังคมและรัฐ โครงสร้างและองค์ประกอบสังคม สถาบันทางสังคมและการเมือง กลุ่มทางสังคมและระบบทางการเมือง อุดมการณ์และลัทธิการเมือง พรรคการเมืองและระบบราชการ การมีส่วนร่วมทางการเมือง พัฒนาการทางการเมือง การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมือง และการบริหารประเทศในสมัยใหม่
5
วิธีการสอนและระบบสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การบรรยาย การอธิบาย การศึกษาและทบทวน การนำเสนอตัวอย่างการศึกษาค้นคว้า การวิเคราะห์ การวิจารณ์ และการอภิปรายแบบมีส่วนร่วม การเรียนและ การสอน การเรียนรู้ ด้วยตนเอง การรวบรวม วิเคราะห์และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง/กลุ่ม การทำแบบฝึกหัด การทำงานที่มอบหมายและการทดสอบ การฝึกปฏิบัติวิเคราะห์กรณีศึกษา และการตีความข้อมูล การเขียนรายงาน การสรุปและการนำเสนอ การฝึกปฏิบัติ
6
เครื่องมือ อุปกรณ์และสื่อการสอน
อุปกรณ์และสื่อการสอน : เครื่องมือ อุปกรณ์และสื่อการสอน หนังสือ ตำรา แบบฝึกหัด สื่อการสอน /เครื่องมือ /อุปกรณ์ นำเสนอ เอกสาร ประการสอน
7
หมายเหตุ : การเปลี่ยนแปลงการวัดผลสัมฤทธิ์จะตกลงร่วมกัน
การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน : 1. การมีส่วนร่วม สนใจและแลกเปลี่ยนในการเรียนสม่ำเสมอ ร้อยละ 10 2. การทดสอบ แบบฝึกหัดและงานที่มอบหมายในชั้นเรียน ร้อยละ 35 3. การสอบกลางภาค ร้อยละ 25 4. การสอบปลายภาค ร้อยละ 30 * หมายเหตุ : การเปลี่ยนแปลงการวัดผลสัมฤทธิ์จะตกลงร่วมกัน ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน * : ขาดทดสอบ แบบฝึกหัดและงานที่มอบหมายให้ทำ จะต้องส่งงานภายใน 7 วัน นับตั้งแต่วันสั่งงาน
8
การประเมินผลการเรียน :
สูงกว่า 79.9 คะแนน ระดับคะแนน A หรือ 4.0 คะแนน ระดับคะแนน B+ หรือ 3.5 คะแนน ระดับคะแนน B หรือ 3.0 คะแนน ระดับคะแนน C+ หรือ 2.5 คะแนน ระดับคะแนน C หรือ 2.0 คะแนน ระดับคะแนน D+ หรือ 1.5 คะแนน ระดับคะแนน D หรือ 1.0 ต่ำกว่า คะแนน ระดับคะแนน F หรือ 0.0
9
* คะแนนเข้าห้องเรียนคำนวณตามจริง*
ข้อกำหนดในการเรียน : 1 นิสิตจะต้องเข้าเรียนไม่น้อยกว่า 36 ชั่วโมง (อย่างน้อย 12 ครั้งๆ ละ 3 ช.ม.) นิสิตเข้าเรียนสาย 2 ครั้ง เท่ากับขาดเรียน 1 ครั้ง นิสิตลากิจ 2 ครั้ง เท่ากับขาดเรียน 1 ครั้ง นิสิตลาป่วยจะต้องมีใบรับรองแพทย์ทุกกรณี * คะแนนเข้าห้องเรียนคำนวณตามจริง* 2 นิสิตที่แต่งกายไม่เรียบร้อยจะไม่ได้รับอนุญาตให้เข้าชั้นเรียน 3 นิสิตต้องไม่ส่งเสียงรบกวนและห้ามใช้โทรศัพท์ขณะทำการเรียนการสอน 4 นิสิตต้องฝึกปฏิบัติการและทำงานที่มอบหมายในชั้นเรียนเป็นประจำ 5 นิสิตต้องร่วมกลุ่มจัดทำรายงานการศึกษาประจำวิชาอย่างสม่ำเสมอ
10
1 2 3 4 5 ประเด็นสำคัญของการเรียน :
ลักษณะ รูปแบบและโครงสร้างสังคมที่อาศัยอยู่เป็นหนึ่งในสังคมหลายๆ ของโลกที่ทั้งเหมือนและแตกต่างกัน 1 การศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบสังคมประเภทต่างๆ ทำให้เข้าใจสภาพสังคมกลไกการทำงานสังคม สถาบัน ระบบความคิดความเชื่อ วิถีและแนวทางประพฤติปฏิบัติที่นำเอาไปใช้ในชีวิตประจำวัน 2 มนุษย์ไม่สามารถอยู่โดดเดี่ยว จำเป็นต้องมีการอยู่ร่วมกับผู้อื่น ความเข้าใจเกี่ยวกับคนและสังคมทำให้สร้างความสัมพันธ์อันดีต่อสมาชิกร่วมสังคมและสมาชิกร่วมโลก 3 ปรากฏการณ์สังคมที่เป็นโทษ เช่น อาชญากรรม แหล่งเสื่อมโทรม ความยากจน การขัดแย้งระหว่างชนชั้น การไร้การศึกษาหรือความด้อยพัฒนา จะเป็นปัญหาที่ประสบอยู่ ความรู้ที่ได้ทำให้เข้าใจสาเหตุที่กำหนดพฤติกรรมเบี่ยงเบนนั้นขึ้นมา 4 การศึกษาวิชาต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวิชาแพทยศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ รัฐศาสตร์ บริหารธุรกิจหรือวิชาไหนก็ตามย่อมมีส่วนเกี่ยวพันกับผู้คนในสังคม จึงจำเป็นที่ต้องศึกษาสังคมควบคู่ไปด้วย 5
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.