ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
คณะอนุกรรมการด้านการวิชาการและการสาธิต
การประชุม คณะอนุกรรมการด้านการวิชาการและการสาธิต เพื่อการจัดงาน Defense & Security 2019 (นิทรรศการอุปกรณ์ป้องกันประเทศ) ครั้งที่ ๒/๒๕๖๒ ในวันพุธที่ ๓๑ ก.ค.๖๒, ๐๙๓๐ - ๑๒๐๐ ณ ห้องประชุมชั้น ๙ อาคาร สป.(ศรีสมาน)
2
ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระที่ ๑ ประธาน (รอง ปล.กห.(๔)) กล่าวเปิดการประชุม ระเบียบวาระที่ ๒ เรื่องเพื่อทราบ ๒.๑ รายงานความก้าวหน้างานที่ดำเนินการไปแล้ว และการดำเนินงานในส่วนของ นิทรรศการให้คณะอนุกรรมการทราบ ดังนี้ ๒.๑.๑ พื้นที่ในการจัดแสดงนิทรรศการของกระทรวงกลาโหม - ฝ่ายเลขานุการ ชี้แจงความก้าวหน้าของการปรับพื้นที่การจัดงานให้กับ กห. - บริษัท จีเอ็มแอล เอ็กซิบิชั่น (ประเทศไทย) จำกัด ชี้แจงเรื่องการปรับพื้นที่การจัดงานให้กับ กห. ๒.๑.๒ องค์ประกอบอื่นๆ ของการจัดงาน เช่น Mascot, ฝ่ายต้อนรับ และของที่ระลึก ฯ ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องเพื่อพิจารณา ๓.๑ พิจารณาความเหมาะสมของผลงานวิจัยที่จะเข้าร่วมจัดแสดงนิทรรศการ ๓.๒ ปัญหาข้อขัดข้องและข้อเสนอแนะของหน่วยงานที่นำผลงานเข้าร่วมจัดแสดง ๓.๓ ชี้แจงรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปฏิบัติงานขั้นต่อไป ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องอื่นๆ - ฝ่ายเลขานุการ ชี้แจงเรื่อง การขอเสนอการจัดสรรพื้นที่ภายในบูธของ กห. ระเบียบวาระที่ ๕ ประธานกล่าวปิดการประชุม
3
พลโท อภิชาติ วิไลเนตร เจ้ากรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม/
พลโท อภิชาติ วิไลเนตร เจ้ากรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม/ รองประธานคณะอนุกรรมการด้านวิชาการและการสาธิต
4
วาระที่ ๒ เรื่องเพื่อทราบ
5
พื้นที่ในการจัดแสดงนิทรรศการของกระทรวงกลาโหม (เดิม)
๒.๑ ความก้าวหน้างานที่ดำเนินการไปแล้ว และการดำเนินงานในส่วนของนิทรรศการ พื้นที่ในการจัดแสดงนิทรรศการของกระทรวงกลาโหม (เดิม) ขนาดพื้นที่ ๑,๕๐๐ ตร.ม. พื้นที่ทั้งสิ้น ๒๗,๐๐๐ ตร.ม. ทางเข้าชมงาน
6
พื้นที่ในการจัดแสดงนิทรรศการของกระทรวงกลาโหม (ใหม่)
ขนาดพื้นที่ ๑๖ x ๙๖ ม. ทางเข้าชมงาน
7
Mascot สำหรับงาน Defense & Security 2019
๒.๑.๒ องค์ประกอบอื่นๆ ของการจัดงาน Mascot สำหรับงาน Defense & Security 2019 จาก รภท.ศอพท. เป็น Mascot ทบ. จำนวน ๑ ตัว จาก หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ (นสศ.) เป็น Mascot ทบ. (หมวกแดง) จำนวน ๒ ตัว จาก ทอ. เป็น Mascot ทอ. จำนวน ๑ ตัว
8
๒.๑.๒.๒ ฝ่ายต้อนรับสากล (International Reception)
คณะทำงานด้านการรับรองบุคคลสำคัญต่างประเทศของ วท.กห. ได้จัดเจ้าหน้าที่ไว้สำหรับต้อนรับเฉพาะบูธของ กห. เท่านั้น ๒.๑.๒.๓ ของที่ระลึก ได้ประสานกับ ศอพท. ซึ่งรับประสาน จะดำเนินการเรื่องของที่ระลึก
9
วาระที่ ๓ เรื่องเพื่อพิจารณา
10
๓.๑ พิจารณาความเหมาะสมของผลงานวิจัยที่จะเข้าร่วมจัดนิทรรศการ
สป. ทบ. รร.ชท.สปท. ทร. ทอ. สทป.
11
๓.๑.๑ สป. ๓.๑.๑.๑ ศอว.ศอพท. จำนวน ๓ ผลงาน ไม่ส่งผลงานเข้าร่วม
๓.๑.๑.๑ (๑) ชุดผลิตภัณฑ์กระสุนของ ศอว.ศอพท. ๓.๑.๑.๑ (๒) ปนร. ๑๕๕ มม. แบบอัตราจรล้อยาง เอ็ม ๗๕๘ (ATMG) ๓.๑.๑.๑ (๓) ค. ๑๒๐ มม. แบบ อัตราจรล้อยาง เอ็ม ๓๖๑ (ATMM) ไม่ส่งผลงานเข้าร่วม
12
โครงการระบบสั่งการทางทหารจากสมาร์ทโฟนผ่านวิทยุสื่อสาร
๓.๑.๑ สป. ๓.๑.๑.๒ ศวพท.วท.กห. จำนวน ๑ ผลงาน โครงการระบบสั่งการทางทหารจากสมาร์ทโฟนผ่านวิทยุสื่อสาร
13
๓.๑.๑ สป. ๓.๑.๑.๓ รวท.อท.ศอพท. จำนวน ๒ ผลงาน
๓.๑.๑.๓ (๑) ผลิตภัณฑ์ดินส่งกระสุนชนิดต่างๆ ของ รวท.อท.ศอพท. ๓.๑.๑.๓ (๒) ผลิตภัณฑ์กระสุนครบนัด ของ รวท.อท.ศอพท.
14
๓.๑.๒ ทบ. ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล
๓.๑.๒.๑ โครงการสาธิตและพัฒนา แพ็คแบตเตอรี่สำหรับการใช้งาน ด้านยุทโธปกรณ์ (สำหรับ ปบค.๔๙ ขนาด ๑๐๕ มม. แบบ M119) ๓.๑.๒.๒ โครงการวิจัยหน้ากากป้องกันสารเคมี – ชีวะ สำหรับพลประจำรถถัง ๓.๑.๒.๓ โครงการพัฒนาปืนไรเฟิลซุ่มยิง ขนาด .๓๓๘ มม. และการพัฒนาต้นแบบปืนเล็กยาว ขนาด ๕.๕๖ มม. ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล
15
๓.๑.๒ ทบ. ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล
๓.๑.๒.๔ โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการพัฒนาปืนกลมือ (Submachine Gun) ๓.๑.๒.๕ โครงการวิจัยและพัฒนากล้องมือกลางคืน (Night Vision) ๓.๑.๒.๖ โครงการวิจัยและพัฒนาระบบเฝ้าตรวจทางอากาศ ของกองทัพบก (UAS-ARMY) ไม่มีข้อมูล ไม่มีข้อมูล
16
๓.๑.๓ รร.ชท.สปท. ๓.๑.๓.๑ หุ่นยนต์กู้ภัยและสำรวจ Rescue and Survey Robot ๓.๑.๓.๒ เรือเก็บผักตบชวา ขนาดเล็ก ๓.๑.๓.๓ เรือเก็บขยะบังคับวิทยุ Remote-controlled garbage collecting raft
17
๓.๑.๔ ทร. ๓.๑.๔.๑ โครงการวิจัยและพัฒนาอากาศยานไร้นักบิน แบบนารายณ์ ๓.๐
๓.๑.๔.๒ ระบบควบคุมบังคับบัญชาแบบพกพา (Command and Control Mobile Link System – CCMLS) ๓.๑.๔.๓ โครงการวิจัย ฯ ทุ่นระเบิด ทอดประจำที่ปราบเรือดำน้ำ แบบล่องหน ๓.๑.๔.๔ ปลอกทวีแรงถอย (Blank Firing Attachment : BFA) ของปืนกล ขนาด .๕๐ นิ้ว แบบ เอ็ม ๒ ลำกล้องหนัก (M2 HB) ๓.๑.๔.๕ ระบบอากาศยานไร้นักบินเพื่อการลาดตระเวนทางทะเล (Maritime Aerial ReconnaissanceCraft Unmanned System MARCUS) ๓.๑.๔.๖ อากาศยานไร้นักบินเพื่อการชี้เป้าและตรวจกระสุนตก
18
๓.๑.๕ ทอ. ไม่ส่งผลงานเข้าร่วม
๓.๑.๕.๑ บ.เป้าอากาศ Snipe MK5 ๓.๑.๕.๒ อากาศยานไร้คนขับ ไม่ส่งผลงานเข้าร่วม
19
๓.๑.๕ ทอ. ๓.๑.๕.๔ กระสุนขนาด ๓๐ มม. ชนิด TP-T
20
๓.๑.๖ สทป. ๓.๑.๖.๑ โครงการวิจัยและพัฒนาหุ่นยนต์เก็บกู้วัตถุระเบิด
(DTI-EOD Man Portable IntelIlgent RoBot) ๓.๑.๖.๒ ระบบอากาศยานไร้คนขับขนาดเล็กแบบขึ้นลงทางดิ่ง (Multi-Rotor UAV) รุ่น D-Eyes 01
21
๓.๑.๖ สทป. ๓.๑.๖.๓ ระบบอากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก (Mini UAV) รุ่น D-Eyes 02 ๓.๑.๖.๔ ระบบอากาศยานไร้คนขับขนาดเล็ก (Small Tactical UAV) รุ่น D-Eyes 03
22
๓.๒ ปัญหาข้อขัดข้องและข้อเสนอแนะของหน่วยงานที่นำผลงานเข้าร่วมจัดแสดง
23
๓.๓ ชี้แจงรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการปฏิบัติงานขั้นต่อไป
๓.๓.๑ ค่าใช้จ่าย ๓.๓.๒ กำลังพล หากมีการขอรับการสนับสนุนเพิ่มเติม ฝ่ายเลขานุการจะขอรับการสนับสนุนจากหน่วยโดยตรง
24
วาระที่ ๔ เรื่องอื่นๆ
25
การขอเสนอการจัดสรรพื้นที่ภายในบูธของ กห.
อู่ต่อเรือ ห้องรับรอง VVIP สป. บก.ทท. สทป. 16 x 16 เมตร ตู้โชว์ ตู้โชว์ ตู้โชว์ Coffee Zone ตู้โชว์ ตู้โชว์ ตู้โชว์ ทบ. ทร. ทอ. ออก ป้าย กห. เข้า ขอบรั้ว ซุ้มทางเข้า - ออก
26
บริษัท อู่กรุงเทพ จำกัด
27
บริษัท จีเอ็มแอล เอ็กซิบิชั่น (ประเทศไทย) จำกัด
28
พลโท อภิชาติ วิไลเนตร เจ้ากรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม/
พลโท อภิชาติ วิไลเนตร เจ้ากรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกลาโหม/ รองประธานคณะอนุกรรมการด้านวิชาการและการสาธิต
29
จบการชี้แจง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.