ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
6
PRIMARY CARE
7
PRIMARY CARE
9
Primary care
10
Primary care “ ระบบที่จัดบริการสุขภาพในระดับที่เป็นด่านแรกของระบบบริการสาธารณสุข ทำหน้าที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพของประชาชนอย่างต่อเนื่องร่วมกับประชาชน โดยประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านการแพทย์ จิตวิทยา และสังคมศาสตร์ในลักษณะผสมผสานการส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาโรค และการฟื้นฟูสภาพได้อย่างต่อเนื่องด้วยแนวคิดแบบองค์รวมให้แก่บุคคล ครอบครัว และชุมชน โดยมีระบบการส่งต่อและเชื่อมโยงกับโรงพยาบาลได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งประสานกับองค์กรชุมชนในท้องถิ่นเพื่อพัฒนาความรู้ของประชาชนในการดูแลส่งเสริมสุขภาพของตน และสามารถดูแลตนเองเมื่อเจ็บป่วยได้อย่างสมดุล” “ปรัชญาสุขภาพปฐมภูมิ” ใน นิตยสารสุขศาลา ปีที่ 1 ฉบับที่1 มกราคม-มีนาคม 2551,หน้า 42-
11
ลักษณะเด่นของการดูแลสุขภาพปฐมภูมิ ได้แก่ 1) เน้นการดูแลแบบองค์รวม คือ ใส่ใจกับชีวิตและความสุขความทุกข์ของคน มากกว่าการดูแลแบบแยกปัญหาสุขภาพออกจากชีวิตของคน หรือมองปัญหาเฉพาะที่อวัยวะเป็นส่วนๆ 2) เน้นการทำงานเชิงรุก คือ มุ่งป้องกันและแก้ไขปัญหาตั้งแต่แรกเริ่มมากกว่ารอให้เกิดโรค ความเจ็บป่วยหรือความทุกข์ลุกลามแล้วค่อยหาทางแก้ไข 3) เน้นการผสมผสานงานส่งเสริม/ป้องกัน/รักษา/ฟื้นฟู ควบคู่กระบวนการทำงานร่วมกับองค์กรและกลไกต่างๆ ในพื้นที่ 4) เน้นการดูแลต่อเนื่องตลอดชีวิต มากกว่าเน้นการรักษาเป็นครั้งๆ โดยให้ความสำคัญกับประสบการณ์ด้านสุขภาพตลอดอายุขัยของบุคคลที่ส่งผลต่อชีวิตและการดูแลรักษาความเจ็บป่วยของเขา
12
5) ทำงานเชื่อมโยงหลายระดับ ทั้งระดับบุคคล/ครอบครัว/ชุมชน เพราะปัญหาแต่ละระดับส่งผลถึงกัน การแก้ปัญหาจึงต้องดำเนินควบคู่กันไปทุกระดับ 6) ทำงานเชื่อมโยงหลายมิติทั้งด้านกาย/ใจ/สังคม/จิตวิญญาณ เพื่อให้ทุกมิติเกื้อกูลส่งเสริมกันจนเกิดสุขภาวะได้อย่างมีดุลยภาพ 7) ทำงานเชื่อมโยงกับบริการทางการแพทย์หลายระดับ โดยช่วยเอื้ออำนวยและประสานให้ผู้ป่วยใช้บริการทางการแพทย์ระดับอื่นๆ ได้อย่างสะดวกราบรื่น 8) ใช้ระบบการแพทย์ที่หลากหลายในชุมชน ทั้งการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และวิถีสุขภาพทางเลือกอื่นๆ มาผสมผสานเพื่อให้เป็นประโยชน์เกื้อกูลต่อสุขภาพ 9) เน้นการเสริมสร้างระบบสุขภาพชุมชนให้เข้มแข็งและพึ่งตนเองได้ “ปรัชญาสุขภาพปฐมภูมิ” ใน นิตยสารสุขศาลา ปีที่ 1 ฉบับที่1 มกราคม-มีนาคม 2551,หน้า 42-
13
วิโรจน์ จึงเสถียรทรัพย์และคณะ
2546
18
ความสำคัญของPHC
35
เฉลียว บุรีภักดีและคณะ2545
เฉลียว บุรีภักดีและคณะ2545
36
ประชาชนมีส่วนร่วมปานกลาง
อำนาจอยู่ ที่ประชาชน ประชาชนมีส่วนร่วมปานกลาง ประชาชนไม่มี ส่วนร่วม
42
การพัฒนา Equitable Health Service
มีบริการ เข้าถึงบริการ ยอมรับบริการ ใช้บริการ ใช้บริการที่มีคุณภาพ
44
GOBI &GOBI-FFF
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.