งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ภาษาท่ารำ/ภาษาท่าทาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ภาษาท่ารำ/ภาษาท่าทาง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ภาษาท่ารำ/ภาษาท่าทาง
รองศาสตราจารย์สุภาวดี โพธิเวชกุล

2 ภาษาท่ารำ ความหมายของท่ารำ

3 สิ่งศักดิ์สิทธิ์ เคารพ ผู้มีพระคุณ

4 ความสามัคคี มั่นคง

5 ความยิ่งใหญ่ บัลลังก์ พระพรหม มงกุฏ

6 การเข้าออกของตัวละคร การสวมสังวาล
การเข้าออกของตัวละคร การสวมสังวาล

7 กีดกัน ขัดขวาง ใส่เสื้อ
กีดกัน ขัดขวาง ใส่เสื้อ

8 สิ่งสวยงาม วิจิตรศิลป์ การเหาะไปในอากาศ มหัศจรรย์
สิ่งสวยงาม วิจิตรศิลป์ การเหาะไปในอากาศ มหัศจรรย์

9 ความรื่นเริง เจิดจรัส งามสง่า เรืองศรี เกษมสันต์หรรษา
ความรื่นเริง เจิดจรัส งามสง่า เรืองศรี เกษมสันต์หรรษา

10 การ ร้อยดอกไม้ ร้อยมาลัย ปักลาย ร้อยเรียงให้เชื่อมต่อกัน
การ ร้อยดอกไม้ ร้อยมาลัย ปักลาย ร้อยเรียงให้เชื่อมต่อกัน

11 พระจันทร์ แสงสว่างของดวงจันทร์ รัศมี แคล้วคลาด หรือใช้เป็นท่าทางของสัตว์ปีก

12 การนอน สิงสถิต

13 ยักษ์, มาร

14 การทรงตัวตรง การตั้งตัวตรง ท่าเชื่อม
การทรงตัวตรง การตั้งตัวตรง ท่าเชื่อม

15 การเตรียมลงนั่ง การเคลื่อนที่ไปอย่างสง่า
การเตรียมลงนั่ง การเคลื่อนที่ไปอย่างสง่า

16 ไปรบ ต่อตี ต่อสู้ ไปรบ การสงคราม การรบ
ไปรบ ต่อตี ต่อสู้ ไปรบ การสงคราม การรบ

17 การเสี้ยมให้โกรธกัน งาช้าง ช้าง
การเสี้ยมให้โกรธกัน งาช้าง ช้าง ท่าซ้ำช้าง

18 พระนารายณ์ พระสี่กร พระราม ศิลปกรรม ราชวงศ์จักรี
พระนารายณ์ พระสี่กร พระราม ศิลปกรรม ราชวงศ์จักรี ท่ารามา

19 น้าวศร โก่งศร ท่าก่งศิลป์

20 เคล้าเคลีย สัมพันธ์ ผูกไมตรี
เคล้าเคลีย สัมพันธ์ ผูกไมตรี ท่าภมรเคล้า

21 ความสวย สง่า โสภา เกียรติยศ เฉิดฉาย งามเลิศ หรือประเสริฐ
ความสวย สง่า โสภา เกียรติยศ เฉิดฉาย งามเลิศ หรือประเสริฐ ท่ารำ หลงใหลได้สิ้น

22 การเลี้ยวลัด ตัดทาง ท่ารำยั่ว

23 การฆ่าฟัน ไปรบ ผลาญชีวิต
การฆ่าฟัน ไปรบ ผลาญชีวิต ชักแป้งผัดหน้า

24 กรรเจียกจร ดอกไม้ทัด ยอดตอง

25 หมายถึง แอบ ซ่อน ปิดบัง หรือ หลบ
หมายถึง แอบ ซ่อน ปิดบัง หรือ หลบ

26 ความสง่างาม ฤทธิไกร เกียรติยศ สูงส่ง เจริญรุ่งเรือง
ความสง่างาม ฤทธิไกร เกียรติยศ สูงส่ง เจริญรุ่งเรือง

27 ความมุ่งหมาย มุ่งมั่น ต่อสู้ หรืออาการมองหรือเหลือบมอง
ความมุ่งหมาย มุ่งมั่น ต่อสู้ หรืออาการมองหรือเหลือบมอง

28 เงื้ออาวุธเพื่อต่อสู้ ท่าเงื้อคือเตรียมเข้ารบ การฆ่า การทำลาย
เงื้ออาวุธเพื่อต่อสู้ ท่าเงื้อคือเตรียมเข้ารบ การฆ่า การทำลาย

29 ความประเสริฐ ความยิ่งใหญ่ ความเจริญรุ่งเรือง ท่าเหาะ
ความประเสริฐ ความยิ่งใหญ่ ความเจริญรุ่งเรือง ท่าเหาะ

30 แผลงฤทธิ์ ผาดแผลง แสดงอิทธิฤทธิ์ หรือใช้ในการรำลงสรงในความหมายของการนุ่งผ้า

31 การขี่ม้า

32 การนำไปใช้ 1.นำท่ารำเฉพาะท่ามือไปใช้ตีบทตามความหมายของบทประพันธ์ที่ใช้แสดง มาผสมกับท่าทางของขาและเท้า รวมกับวิธีการใช้ศีรษะ ไหล่ เกลียวข้าง หลากหลายลักษณะเพื่อให้เห็นเป็นความแปลกใหม่ตามจารีตนาฏศิลป์ไทยที่ สืบต่อมาอย่างยาวนาน 2.นำท่ารำไปใช้โดยไม่เปลี่ยนแปลงจากท่าเดิม หมายถึง การนำท่ารำ เช่นเดียวกับท่ารำในเพลงแม่บทไปใช้ทั้งท่าตั้งต้น ท่าเชื่อมและท่าจบในแต่ ละครั้ง 3.นำท่ารำเดิมมาผสมเป็นท่ารำรูปแบบใหม่โดยการใช้ขา และ เท้า แขน และ มือ ในทิศทาง และ ระดับที่แตกต่างกันบ้างหรือเหมือนกันบ้าง

33 หลักการรำแม่บทใหญ่ 1.หน่วยย่อยหลักของท่ารำ ได้แก่ การปฏิบัติท่าแขน และ มือ ซึ่งถือว่าเป็น ส่วนสำคัญที่สุดในการปฏิบัติท่ารำเช่นเดียวกับหลักการฟ้อนรำอย่างนาฏย ศาสตร์ เพราะท่าทางของแขนและมือสามารถสื่อความหมายของการแสดง ท่ารำให้ผู้ชมเข้าใจได้มากที่สุด หน่วยย่อยหลักนี้ทำหน้าที่เช่นเดียวกับตัว พยัญชนะในภาษาไทย มือหลัก (จีบหงาย (รวมจีบหงายด้านหลัง) จีบคว่ำ มือแบตั้ง และ มือแบหงาย) มือรอง (จีบพิเศษ (ท่าขี่ม้า) มือชี้คว่ำ มือชี้หงาย ล่อแก้วตั้ง ล่อแก้ว หงาย ล่อแก้วคว่ำ เท้าสะเอว ท่ายืน และมือตั้งกดฝ่ามือลง (ท่าป้อง หน้า)

34 2.หน่วยย่อยรองของท่ารำใช้ประกอบสร้าง
ท่าทางของศีรษะ ลำตัว ขา และเท้า นำมาใช้ประกอบสร้างท่ารำ ร่วมกับท่าของแขนและมือให้สมบูรณ์มากขึ้น ได้แก่ การเอียงศีรษะ ลักคอ ตึงไหล่ ตึงตัว กดเกลียวหน้า เกลียวข้าง เกลียวหลัง นั่งคุกเข่า นั่งกระดกเท้า นั่งตั้งเข่า กระทบก้น ก้าวหน้า ก้าวข้าง กระดกหลัง ยกเท้า ย่อเข่า ผสมเท้าตรง ผสมเท้าเหลื่อม วางส้นเท้า และจรดเท้า ท่าทางของขาและเท้าเหล่านี้ทำหน้าที่เช่นเดียวกับสระในภาษาไทย เพราะทำให้ท่าของแขนและมือกลายเป็นท่ารำที่สมบูรณ์สามารถสื่อ ความหมายได้สวยงามและชัดเจนยิ่งขึ้น

35 3.หน่วยปรับแต่งท่ารำให้งดงามตามความนิยมของคนไทย
โดยการนำท่ารำที่เกิดจากการผสมระหว่างหน่วยย่อยหลักและหน่วย ย่อยรองมาปรับแต่งให้เกิดเป็นท่าทางที่แตกต่างกันอย่างหลากหลาย โดยใช้พลัง ทิศทาง และระดับที่แตกต่างกัน สร้างความแปลกใหม่บน เวทีอยู่เสมอแม้อยู่ในท่ารำเดียวกัน ทำหน้าที่เช่นเดียวกับวรรณยุกต์ที่ทำให้คำเดิมเปลี่ยนความหมายได้ เช่น คา และค้า เป็นต้น ดังตัวอย่างภาพการจัดท่ารำ 1 ท่าในระดับและทิศทางต่างกัน

36 การจัดท่ารำ 1 ท่า ในระดับและทิศทางต่างกัน

37 สูตรการสร้างท่ารำ ท่าแขนและมือ + ท่าขาและเท้า + การเคลื่อนไหว = แม่ท่า, ท่ารำ การผสมท่ารำตั้งแต่ 2 ท่าขึ้นไป = ชุดท่ารำ ท่ารำ 1 หรือท่ารำเริ่มต้น + ท่าเชื่อม = ท่ารำที่ 2 หรือท่ารำใหม่ ท่ารำใหม่ของแต่ละครั้งกลายเป็นท่ารำเริ่มต้นของท่ารำต่อไปจนครบในแต่ ละชุดท่ารำ ชุดท่ารำเรียงร้อยต่อเนื่องกัน = กระบวนท่ารำเป็นบทเพลง หรือ เรื่องราว

38 ภาษาท่าทาง การเดิน บุรุษที่ 1 ได้แก่ ฉัน ข้าพเจ้า
บุรุษที่ 1 ได้แก่ ฉัน ข้าพเจ้า บุรุษที่ 2 ได้แก่ ท่าน เธอ บุรุษที่ 3 ได้แก่ เขา พ่อแม่ ครูอาจารย์ คนนั้น คนนี้ แสดงอารมณ์ ได้แก่ รัก เศร้า โกรธ อาย ยิ้ม ร้องไห้ แสดงสถานที่ ได้แก่ ที่นี่ ที่โน่น


ดาวน์โหลด ppt ภาษาท่ารำ/ภาษาท่าทาง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google