ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กฎหมาย กับ ความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม
กฎหมาย กับ ความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม โดย อ.ทศพล ทรรศนกุลพันธ์
2
กฎหมาย กับ ความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม
กฎหมาย กับ ความเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรม นิยาม และขอบเขตในการศึกษากฎหมาย กับ วัฒนธรรม อิทธิพลระหว่างวัฒนธรรม กับ กฎหมาย(รัฐ) ความเปลี่ยนแปลงของสังคม ผลกระทบต่อวัฒนธรรม กับ กฎหมาย ความล่มสลาย-ฟื้นฟูของวัฒนธรรมในระบบกฎหมาย วัฒนธรรมต่างๆ กับ ผลกระทบต่อกฎหมาย วัฒนธรรม กับ กฎหมาย – วัฒนธรรมการสื่อสาร กับ กฎหมาย วัฒนธรรม กับ กฎหมาย – วัฒนธรรมการบริโภค กับ กฎหมาย ความท้าทายของวัฒนธรรมกับกฎหมายในโลกสมัยใหม่
3
นิยาม และขอบเขต กฎหมาย กับ วัฒนธรรม
กฎหมาย คือ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ของสังคม ฝ่าฝืน มีความผิด มีผลร้าย วัฒนธรรม คือ ระบบความสัมพันธ์ของคนในสังคม (การให้ความหมาย) ทำได้ – สร้างสัมพันธภาพที่ดี ไม่ได้-สูญเสียสัมพันธภาพ เป็นนวัตกรรมทางสังคมเช่นเดียวกัน (คนสร้างความหมาย) เครื่องมือจัดระบบความสัมพันธ์มนุษย์ กับ ผู้อื่นหรือทรัพยากรในชุมชน เครื่องมือกำหนดความสัมพันธ์ของคนในสังคม พลเมือง-ลูกบ้าน ผลของการกระทำ งดเว้นการกระทำ มีความเข้มข้นหรือผลต่างกัน วัฒนธรรมอาศัยกลไกของสังคม กฎหมายอาศัยกลไของรัฐ-ผลบังคับ
4
ขอบเขตวัฒนธรรมที่จะศึกษา
การศึกษา กฎหมาย กับ วัฒนธรรมจะเน้นไปที่วัฒนธรรม 2 ประการ วัฒนธรรมการสื่อสาร - ว่าด้วยสัมพันธภาพระหว่าง คน-คน - รัฐ/ทุน มากำหนดลักษณะความสัมพันธ์ทั้ง เอื้อ ครอบงำและขัดขวาง วัฒนธรรมการบริโภค - ว่าด้วยสัมพันธภาพ คน-ทรัพยากร กฎหมายเป็นกติกาและพื้นที่ ต่อสู้เพื่อกำหนดวัฒนธรรม และความหมาย
5
กระบวนทัศน์ที่จะศึกษา / ความเข้มข้นของวัฒนธรรม
กระบวนทัศน์ในการศึกษาวัฒนธรรมกับกฎหมาย - ก่อร่างสร้างตัว ครอบงำ รื้อถอน ฟื้นฟู ความเข้มข้นของอิทธิพลระหว่าง วัฒนธรรม กับ กฎหมาย - อนุรักษ์นิยม - เสรีนิยม - ประชาธิปไตย - อนาธิปไตยของผู้ทรงอิทธิพลทางวัฒนธรรม
6
อิทธิพลของวัฒนธรรม ต่อ กฎหมาย(รัฐ)
วัฒนธรรมมีผลต่อกฎหมายในเชิงโครงสร้าง - การจัดลำดับอำนาจ ผู้ปกครอง พลเมือง ในสังคมนั้น - การสร้างความชอบธรรมของผู้ที่ปกครอง โดยอาศัยอำนาจนำ - วัฒนธรรมกำหนดความสัมพันธ์ระหว่างคนในชุมชน ฝ่าฝืน-สิ้นบารมี วัฒนธรรมมีผลต่อกฎหมายในเชิงวัฒนธรรม - การจัดความสัมพันธ์ของผู้ใหญ่ผู้น้อยในสังคม - การสร้าง ความดี ความงาม ความจริง ให้คนในสังคม - การฝ่าฝืน ชั่ว นำไปสู่การเสื่อมสลายอำนาจนำของบุคคลในสังคม
7
อิทธิพลของกฎหมาย(รัฐ) ต่อ วัฒนธรรม
กฎหมายมีส่วนส่งเสริมเกื้อกูลวัฒนธรรม - การกำหนดให้ผู้ปกครอง(กลุ่ม)เป็นยึดถือปฏิบัติ เพื่อสร้างบารมี - การเปิดเสรีภาพให้ฟื้นฟู รักษา วัฒนธรรม - การลงโทษบุคคลผู้ทำลาย ฝ่าฝืน วัฒนธรรม กฎหมายมีส่วนบ่อนทำลายวัฒนธรรม - การแยกอำนาจรัฐ ออกจาก ความสำคัญของผู้มีบารมีในสังคม - การปฏิวัติวัฒนธรรม เพื่อทำลายเครื่องมือทำซ้ำลัทธิวัฒนธรรมชนชั้น - การไม่รับรองผลทางกฎหมายของวัฒนธรรม
8
ความเปลี่ยนแปลงของสังคม ผลกระทบ ต่อ วัฒนธรรม กับ กฎหมาย
ความเปลี่ยนแปลงของสังคม ผลกระทบ ต่อ วัฒนธรรม กับ กฎหมาย วัฒนธรรมยุคดั้งเดิม – ความศักดิ์สิทธิ์ ความหมายพิเศษ ความมั่นคง – ความดี ความงาม ความจริง – สร้างวัฒนธรรมศักดินา วัฒนธรรมแห่งชาติ - วัฒนธรรมเป็นที่มาเชิงประวัติศาสตร์ของกฎหมาย (ซาวิกนี่) , วัฒนธรรม คือ กฎหมาย(รัฐ) (สามัญสำนึกของสามัญชน), วัฒนธรรมแยกออกจากกฎหมายในเชิงโครงสร้าง(ประมวลกฎหมาย) การปะทะแห่งวัฒนธรรมรัฐเชิงเดี่ยว วัฒนธรรมมีอิทธิพลเป็นธรรมนูญแห่งกฎหมาย (อำนาจนำ Hegemony) วัฒนธรรมมีส่วนเติมเต็ม รับเอาวัฒนธรรมเข้าสู่ระบบกฎหมาย
9
ความเปลี่ยนแปลงของสังคม ผลกระทบ ต่อ วัฒนธรรม กับ กฎหมาย
ความเปลี่ยนแปลงของสังคม ผลกระทบ ต่อ วัฒนธรรม กับ กฎหมาย วัฒนธรรมระดับโลก กับ ความเปลี่ยนแปลงของกฎหมาย วัฒนธรรม กับ กฎหมาย ยุคก่อนสงครามโลก - บูรณาการแห่งรัฐท้องถิ่น วัฒนธรรม กับ กฎหมาย ยุคสงครามโลก - ชาตินิยม ชาติพันธุ์นิยม วัฒนธรรม กับ กฎหมาย หลังสงครามโลก - ปฏิเสธจักรวรรดินิยม วัฒนธรรม กับ กฎหมาย ยุคสงครามเย็น - อุดมการณ์เศรษฐกิจการเมือง วัฒนธรรม กับ กฎหมาย ยุคทุนนิยมเสรีครอบงำโลก - สลายชาติ คนส่วนน้อยสถาปนาอำนาจนำคนส่วนใหญ่ ด้วย วัฒนธรรมกฎหมาย คนส่วนใหญ่ปฏิวัติล้มล้างวัฒนธรรมกฎหมายที่คุมโดยคนส่วนน้อย
10
วัฒนธรรมต่างๆ กับ ผลกระทบต่อกฎหมาย
รูปแบบความสัมพันธ์ทางอำนาจก่อร่างสร้างกฎหมาย - อำนาจทางกายภาพ - อำนาจทางโครงสร้าง - อำนาจนำทางวัฒนธรรม ความหลากหลายทางวัฒนธรรมสร้างกฎหมาย - กฎหมายจารีตประเพณีท้องถิ่น - วิถีประชา - วิถีชุมชนท้องถิ่น
11
วัฒนธรรมต่างๆ กับ ผลกระทบต่อกฎหมาย
รัฐชาติ กับ การสถาปนาวัฒนธรรมแห่งชาติ - วัฒนธรรมชาตินิยม – เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย - การปฏิวัติวัฒนธรรมสังคมนิยม – สร้างความเสมอภาคทางวัฒนธรรม วัฒนธรรมครอบโลก - แบบเชิงเดี่ยว วัฒนธรรมสะสมทุน วัฒนธรรมบริโภค วัฒนธรรมป๊อบ - วัฒนธรรมครอบโลกโดยคนส่วนน้อย ดี เด่น ดัง (NewEmpire) - วัฒนธรรมเอาอย่างต้นแบบเชิงอุตสาหกรรม ป๊อบสตาร์ ไอด้อล เซเลป
12
วัฒนธรรมต่างๆ กับ ผลกระทบต่อกฎหมาย
วัฒนธรรมปฏิวัติโลก - แบบเชิงซ้อน วัฒนธรรมสันโดษ วัฒนธรรมอนุรักษ์ วัฒนธรรมท้องถิ่น - วัฒนธรรมปฏิวัติโดยคนส่วนใหญ่รวมกลุ่มสร้างพลัง(Multitude) - วัฒนธรรมเอาอย่างต้นแบบทางเลือก วีรชนกระฎุมพี วีรชนรากหญ้า - สิทธิชุมชน - สิทธิชาติพันธุ์ - ปฏิวัติวัฒนธรรมจากเบื้องล่าง * วัฒนธรรมเป็นเวทีการต่อสู้เพื่อสร้างอำนาจในการกำหนดความหมาย
13
วัฒนธรรมการสื่อสาร กับ กฎหมาย
วัฒนธรรมการสื่อสารในระบบกฎหมาย ประชาชน – ทุน – รัฐ อนุรักษ์นิยม – เสรีนิยม – ประชาธิปไตย – อนาธิปไตย รัฐ กับ การควบคุมเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น - เซ็นเซอร์ หนัง เพลง วรรณกรรม วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ - การใช้มาตรการทางกฎหมายอื่นมาปิดกั้นเสรีภาพ เช่น ปอ.ม.112 - การใช้ พรบ.คอมฯ มาจัดการผู้ใช้ช่องทางอินเตอร์เน็ต - การปิด ยกเลิก เพิกถอน ใบอนุญาต การประกอบการสื่อธุรกิจ
14
วัฒนธรรมการสื่อสาร กับ กฎหมาย
การหาจุดสมดุลระหว่าง เสรีภาพ กับ ความสงบเรียบร้อยศีลธรรมอันดี - ระบบเปิดเสรี ฟ้องเช็คบิลทีหลัง - ระบบรัฐ/ส่วนร่วม จัดเรตติ้ง - ระบบรัฐออกใบอนุญาต - ระบบรัฐวางผัง และกำกับ เนื้อหาสื่อสาธารณะ - ระบบรัฐจัดทำสื่อด้วยตัวเอง ช่องทางต่อสู้เพื่อกำหนดวัฒนธรรมในการสื่อสาร – ร่างรัฐธรรมนูญ ออก พรบ. สร้างฐานนโยบายพรรคการเมือง ตุลาการตีความ
15
วัฒนธรรมการบริโภค กับ กฎหมาย
วัฒนธรรมการสื่อสารในระบบกฎหมาย ประชาชน – ทุน – รัฐ ท้องถิ่นนิยม – เสรีนิยม – ประชาธิปไตย – อนาธิปไตยของทุนใหญ่ รัฐ กับ การจัดการเสรีภาพในทางเศรษฐกิจ - การเปิดเสรีทางเศรษฐกิจและการบริโภค - การใช้มาตรการทางกฎหมาย เช่น สคบ. - การใช้ พรบ.ผู้บริโภค วิผู้บริโภคฯ สินค้าอันตรายฯ มาจัดการทุน - การปิด ยกเลิก เพิกถอน ใบอนุญาต การประกอบการสินค้า
16
วัฒนธรรมการบริโภค กับ กฎหมาย
การหาจุดสมดุลระหว่าง เสรีภาพของทุน กับ สิทธิประชาชนผู้บริโภค - ระบบเปิดเสรี ฟ้องเช็คบิลทีหลัง - ระบบรัฐ/ส่วนร่วม จัดมาตรฐานสินค้า โฆษณา ก่อนทำตลาด - ระบบรัฐออกใบอนุญาตก่อนผู้ประกอบการเข้าสู่ตลาด - ระบบรัฐวางผัง และกำกับ เนื้อหาสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ - ระบบรัฐจัดทำบริการสาธารณะที่จำเป็นโดยรัฐวิสาหกิจ ซับคอนแทรค ช่องทางต่อสู้เพื่อกำหนดวัฒนธรรมในการสื่อสาร – ร่างรัฐธรรมนูญ ออก พรบ. สร้างฐานนโยบายพรรคการเมือง ตุลาการตีความ
17
ความท้าทายของวัฒนธรรม กับ กฎหมายสมัยใหม่
รัฐธรรมนูญฉบับวัฒนธรรมไทย ในฐานะธรรมนูญแห่งกฎหมาย(รัฐ) รัฐ กับ การเป็นผู้รับรอง ตีความ และบังคับใช้วัฒนธรรม เสรีภาพในการอ้างสิทธิตามวัฒนธรรม การดำเนินกิจกรรมของสังคม การให้เสรีภาพในการสร้างงานวัฒนธรรม เพื่อออกแบบกิจกรรม การจัดการบริหารภายในการควบคุมของรัฐ เช่น พรบ.สื่อฯ สินค้า การสร้างภูมิคุ้มกันให้วัฒนธรรมท้องถิ่นโดยกฎหมายไทย การเผชิญหน้า ความแข่งขันในโลกสมัยใหม่โฆษณา วัฒนธรรมบริโภค วัฒนธรรมกับ ความท้าทายของโลกาภิวัฒน์ทางวัฒนธรรมป๊อบ
18
ความท้าทายของวัฒนธรรมกับกฎหมายในโลกสมัยใหม่
อนุรักษ์ หรือ เสรี หรือ ประชาธิปไตย หรือ อนาธิปไตย วัฒนธรรมชาติ หรือ วัฒนธรรมชุมชน ท้องถิ่น หรือ วัฒนธรรมกลุ่ม บทบาทวัฒนธรรม กับ การจัดการความขัดแย้งระหว่างกลุ่มวัฒนธรรม บทบาทวัฒนธรรมการจัดการความขัดแย้งระหว่างคน กลุ่มผลประโยชน์ ปฏิวัติคลื่นลูกที่สาม การครอบงำทางวัฒนธรรมผ่านข้อมูลข่าวสาร วัฒนธรรมในฐานะเครื่องมือต่อสู้ เพื่อต้านอำนาจครอบงำใหม่ สังคมที่สร้างวัฒนธรรมจากฐานราก กับ การจัดการความรุนแรง กฎหมายเพื่อคนชายขอบ กับ วัฒนธรรมสำหรับผู้ด้อยโอกาส
19
แนวโน้ม วัฒนธรรมกับกฎหมายในโลกสมัยใหม่
ย้อมไปสู่การอนุรักษ์นิยม อนาธิปไตย วัฒนธรรมเฉพาะของตนเอง การใช้วัฒนธรรมเป็นอุดมการณ์ทางเศรษฐกิจการเมือง การนำวัฒนธรรมกับรัฐชาติมาผนวกเป็นเนื้อเดียวกัน (คอมมอน) การแบ่งขอบเขตระหว่างระหว่างรัฐชาติ กับ วัฒนธรรม(ซีวิล) การเปิดโอกาสให้มีการตีความสร้าง ฟื้นฟูวัฒนธรรมอย่างเสรี รัฐไม่เข้ามายุ่งเกี่ยวกับกิจกรรมของกลุ่มวัฒนธรรมเฉพาะ รัฐเข้ามากำกับดูแลในกิจกรรม หรือกิจการบางอย่างโดยอาศัยกฎหมาย วาทกรรมเฉพาะกลุ่มทางกฎหมาย และนิติวิธีที่หลากหลาย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.