ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
รางวัลด้านการพัฒนาระบบราชการ
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร 16 พฤศจิกายน 2559
2
รางวัลด้านการพัฒนาระบบราชการ มี 4 ประเภท
1. รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA) 2. รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม (Thailand Excellent Participatory Governance Awards) 3. รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards) 4. รางวัล United Nations Public Service Awards
3
รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
1 รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (Public Sector Management Quality Award : PMQA)
4
ประเภทรางวัล รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA
(650 คะแนน แต่ละหมวดคะแนนไม่ต่ำกว่า 50%) รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับดีเด่น (400 คะแนน) ได้รับรางวัลรายหมวด ไม่น้อยกว่า 2 หมวด รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รายหมวด (300 คะแนน) สมัครได้ครั้งละไม่เกิน 3 หมวด ผ่านการรับรองคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน (Fundamental Level) (275 คะแนน) 4
5
เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ กรมอนามัย
ปี 2559 กรมอนามัยได้รับรางวัลหมวด 1 พัฒนาองค์กรตามเกณฑ์ฯ ระดับพื้นฐาน ผ่านการรับรองตามเกณฑ์ฯระดับพื้นฐาน ปรับปรุงองค์การอย่างต่อเนื่อง/รางวัล รายหมวด รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ปี 2555 กรมอนามัยผ่านเกณฑ์ฯ ปี ปี 2559 เป้าหมายการพัฒนาตามแผนยุทธศาสตร์กรม ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 3 หมวด (สะสม) 4 หมวด 5 หมวด 6 หมวด ครบทุกหมวด ปี ปี 2555 5
6
เกณฑ์การให้คะแนนรางวัล PMQA ระดับดีเด่น คะแนนรางวัลระดับดีเด่น
หมวด คะแนนเต็ม คะแนนรางวัลระดับดีเด่น 1 การนำองค์กร 120 48 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 80 32 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 110 44 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 40 5 การมุ่งเน้นบุคลากร 100 36 6 การมุ่งเน้นระบบการปฏิบัติการ 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ 7.1 ด้านประสิทธิผลและการบรรลุพันธกิจ 60 24 7.2 ด้านการให้ความสำคัญผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนสีย 70 28 7.3 ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 7.4 ด้านการนำองค์การและการกำกับดูแล 7.5 ด้านงบประมาณ การเงิน และการเติบโต 7.6 ด้านประสิทธิผลของกระบววนการและการจัดการ ห่วงโซ่อุปทาน 1000 400
7
เกณฑ์การให้คะแนนรางวัล PMQA รายหมวด
เกณฑ์คะแนน รางวัลหมวด 1 2 3 4 5 6 120 60 30 80 20 40 110 27.5 55 100 25 50 7.1 18 15 7.2 70 17.5 21 7.3 7.4 7.5 7.6 รวม 1000 300 หมวดที่ขอรับรางวัล คะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 50 ของคะแนนเต็มในหมวดนั้น หมวดอื่นๆ คะแนนไม่น้อยกว่า ร้อยละ 25 ของคะแนนเต็มในแต่ละหมวด หมวด 7 ที่เกี่ยวข้องกับหมวดที่ขอรับรางวัล คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของคะแนนเต็ม
8
ด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม
2 รางวัลความเป็นเลิศ ด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม (Thailand Excellent Participatory Governance Awards) ปี 2558 และ ปี 2559
9
ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน มี 5 ระดับ
Inform การให้ข้อมูลข่าวสาร เป็นการให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนเกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ ของหน่วยงานภาครัฐ Consult การปรึกษาหารือ เป็นการเปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล แสดงความคิดเห็น ข้อเสนอแนะ เช่น การจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็น ทั้งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ) Involve การเข้ามามีบทบาท เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมหรือเกี่ยวข้องในกระบวนการตัดสินใจ มีการแลกเปลี่ยนข้อมูล/ความคิดเห็นระหว่างรัฐกับเอกชน เช่น การดำเนินงานในรูปแบบกรรมการที่มีตัวแทนภาคประชาชนเข้าร่วม ความร่วมมือ เป็นการดำเนินการแบบเป็นหุ้นส่วนกับประชาชนในทุกขั้นตอนตั้งแต่ร่วมวางแผน ร่วมดำเนินงาน ติดตามประเมินผล และร่วมรับผลประโยชน์ รวมทั้งเป็นภาคีในการดำเนินกิจกรรม ความคิดเห็นของประชาชนจะสะท้อนออกมาในการตัดสินที่ค่อนข้างสูง เช่น คณะกรรมการร่วมภาครัฐกับเอกชน คณะที่ปรึกษาภาคประชาชน Collaborate การเสริมอำนาจ เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีบทบาทในการเป็นผู้ตัดสินใจ มีบทบาทในการบริหารจัดการโดยเป็นผู้ดำเนินภารกิจ โดยภาครัฐมีหน้าที่ในการส่งเสริมสนับสนุน Empower
10
ประเภทรางวัล 1. รางวัลพัฒนาการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม
2. รางวัลขยายผลการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม 3. รางวัลการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วมอย่างเป็นเลิศ ผลงานที่กรมอนามัยส่งประกวด ปี 2558 : โครงการรณรงค์ปั่นจักรยานเฉลิมพระเกียรติ พระบรมวงศานุวงศ์ในวันสำคัญ ปี 2559 : อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
11
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards : TPSA)
3 รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ (Thailand Public Service Awards : TPSA) ปี 2558 และ ปี 2559
12
เจตนารมณ์ของรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ
13
ประเภทรางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ
รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ ประกอบด้วย 6 ประเภทรางวัล 1. รางวัลภาพรวมมาตรฐานการบริการที่เป็นเลิศ 2. รางวัลบูรณาการการบริการที่เป็นเลิศ 3. รางวัลนวัตกรรมการบริการที่เป็นเลิศ 4. รางวัลการพัฒนาการบริการที่เป็นเลิศ 5. รางวัลบริการภาครัฐยอดเยี่ยม 6. รางวัลพัฒนาคุณภาพการบริการอย่างต่อเนื่อง
14
ปี 2558 กรมอนามัยส่งผลงานเข้าประกวด 11 ผลงาน
ประเภทที่ 2 รางวัลบูรณาการการบริการ ที่เป็นเลิศ 1. การรับรองมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ 2. พลังเครือข่าย MCH Board ล้านนา สู่การพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก อย่างยั่งยืน 3. การพัฒนาสุขภาพอนามัยสามเณร ในโรงเรียนพระปริยัติธรรม ประเภทที่ 4 รางวัลการพัฒนาการบริการ ที่เป็นเลิศ 1. บันไดสิบขั้นสู่ความสำเร็จในการเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาในทารกที่เจ็บป่วย 2. การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในแม่ทำงานนอกบ้านจากคลินิกสู่ภาคีเครือข่าย 3. พัฒนาระบบการบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ 4. การพัฒนาระบบบริการหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น (ONE STOP SERVICE) 5. การดูแลการตั้งครรภ์ที่ครอบครัวและสามี มีส่วนร่วม ประเภทที่ 3 รางวัลนวัตกรรมการบริการ ที่เป็นเลิศ 1. หัวฉีดเป่าลมกันสนิม (The spray of air syringe can prevent corrosions of dental Instruments) 2. ไม้วัดส่วนสูงมาตรฐาน สำหรับเด็ก อายุ 2-5 ปี 3. การส่งเสริมการออกกำลังกายพระภิกษุ สามเณร ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ และการพัฒนาเกณฑ์มาตรฐาน การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ที่เหมาะสมสำหรับสมณสารูป หน่วยงานที่ส่งผลงาน สำนักส่งเสริมสุขภาพ 1 ผลงาน ศอ.1 เชียงใหม่ 8 ผลงาน ศอ.7 ขอนแก่น 1 ผลงาน ศอ. 10 อุบลราชธานี 1 ผลงาน การรับรองมาตรฐานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ (กลุ่มวัยเรียน สำนักส่งเสริมสุขภาพ)
15
ปี 2559 กรมอนามัยส่งผลงานเข้าประกวด 11 ผลงาน
ประเภทที่ 2 รางวัลบูรณาการการบริการ ที่เป็นเลิศ 1. พลังเครือข่าย MCH Board ล้านนา สู่การพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กอย่างยั่งยืน (Lanna Maternal and Child Health Board : The power of connection) 2. การพัฒนาระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนพระปริยัติธรรมในพื้นที่ทรงงาน ตามพระราชดำริสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 3. โรงเรียนพ่อแม่ BBL (Brain-based Learning) ประเภทที่ 4 รางวัลการพัฒนาการบริการ ที่เป็นเลิศ 1. การพัฒนาระบบบริการหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น (ONE STOP SERVICE) 2. การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในแม่ทำงานนอกบ้านจากคลินิกสู่ภาคีเครือข่าย 3. คลินิกเด็กฉลาด พ่อแม่สร้างได้ 4. การรายงานผลการตรวจธาลัสซีเมีย ระบบ Fast Track หน่วยงานที่ส่งผลงาน ศอ.1 เชียงใหม่ 8 ผลงาน ศอ.9 นครราชสีมา 1 ผลงาน ศอ. 10 อุบลราชธานี 1 ผลงาน ศอ. 13 กทม. 1 ผลงาน ประเภทที่ 3 รางวัลนวัตกรรมการบริการ ที่เป็นเลิศ การส่งเสริมการออกกำลังกายพระภิกษุ สามเณร ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่และ การพัฒนาเกณฑ์มาตรฐานการทดสอบสมรรถภาพทางกายที่เหมาะสมสำหรับ สมณสารูป การดูแลการตั้งครรภ์ที่ครอบครัวและสามี มีส่วนร่วม ไม้วัดส่วนสูงมาตรฐานสำหรับเด็กอายุ 2-5 ปี 4. หัวฉีดเป่าลมกันสนิม (The spray of air syringe can prevent corrosions of dental Instruments) พลังเครือข่าย MCH Board ล้านนา... สู่การพัฒนางานอนามัยแม่และเด็ก อย่างยั่งยืน (ศอ. 1 เชียงใหม่)
16
กรอบการเขียนผลงาน 1. ปัญหาและสภาพการปฏิบัติงานเดิมก่อนที่จะริเริ่มการปรับปรุง (ไม่เกิน 700 คำ) 2. ผู้นำเสนอแนวทางการแก้ปัญหา ผู้ดำเนินการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโครงการ (ไม่เกิน 700 คำ) 3. ผลงานที่เป็นความคิดริเริ่มในการพัฒนาคุณภาพการบริการ (ไม่เกิน 1,400 คำ) 4. กลยุทธ์ที่นำมาใช้ให้การพัฒนาบริการประสบผลสำเร็จ (ไม่เกิน 1,400 คำ) 5. ทรัพยากรที่ใช้ในการดำเนินการ (ไม่เกิน 700 คำ) 6. ขั้นตอนสำคัญในการพัฒนาการบริการและการนำไปปฏิบัติ 6.1 ลำดับขั้นตอนในการพัฒนา (ไม่เกิน 700 คำ) 6.2 ลำดับขั้นตอนในการปฏิบัติ (ไม่เกิน 700 คำ) 6.3 ระบบการติดตามและประเมินผลการพัฒนาบริการ (ไม่เกิน 700 คำ) 7. ปัญหา อุปสรรค รวมถึงวิธีการบริหารจัดการ (ไม่เกิน 700 คำ) 8. ประโยชน์ที่ได้รับจากการดำเนินการพัฒนาบริการ (ไม่เกิน 1,400 คำ) 9. การสร้างความยั่งยืนและการขยายผลไปยังหน่วยงานอื่น ๆ (ไม่เกิน 700 คำ) 10. บทเรียนที่ได้รับจากการดำเนินการพัฒนาบริการ คืออะไร (ไม่เกิน 700 คำ)
17
การสนับสนุนจากกรมอนามัย
ประชุมเพื่อพัฒนาศักยภาพการเขียนผลงาน “รางวัลบริการภาครัฐแห่งชาติ” และ “รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม” ระยะเวลาการจัดประชุม ครั้งที่ 1 วันที่ 28 ธันวาคม 2559 ครั้งที่ (ยังไม่ได้กำหนด) กลุ่มเป้าหมาย : บุคลากรของหน่วยงานสังกัดกรม หน่วยงานละ 2-3 คน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.