ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยFrank Günther ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
ข้อเสนอโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ ภายใน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES ข้อเสนอโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการ ภายใน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม
2
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง จัดตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ และพระราชบัญญัติ ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ เมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 2545 โดยในกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พ.ศ กำหนดให้กรมฯ มีภารกิจเกี่ยวกับการอนุรักษ์ ฟื้นฟู บริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง รวมทั้งป่าชายเลน เพื่อความสมบูรณ์ มั่งคั่ง สมดุล และยั่งยืนของทะเลไทย เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศ เป็นองค์การหลักในการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ให้มีความอุดมสมบูรณ์และยั่งยืน วิสัยทัศน์
3
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES การวิเคราะห์ภารกิจ การวิเคราะห์ภารกิจเพื่อเป็นไปตามข้อกำหนดเรื่องขั้นตอนการขอจัดตั้งหน่วยงานของรัฐในหนังสือเวียนของสำนักงาน ก.พ.ร. ที่ นร 1200/ ว 13 ลงวันที่ 28 สิงหาคม 2550 เรื่อง การซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนการจัดตั้งหน่วยงานของรัฐ ส่วนกลาง ส่วนกลางในภูมิภาค ภารกิจ/ ประเด็น ใช่ ไม่ใช่ 1. เป็นงานที่จำเป็นต้องปฏิบัติอยู่หรือไม่ 2. เป็นงานที่มีการปฏิบัติซ้ำซ้อนอยู่ที่ใดหรือไม่ 3. เป็นงานที่ถือเป็นหน้าที่หลักใช่หรือไม่ 4. เป็นงานที่มอบ/ กระจายอำนาจไปให้ภูมิภาค/ ท้องถิ่นได้หรือไม่ 5. เป็นงานที่ดำเนินการโดยการจัดตั้งเป็นองค์กรของรัฐรูปแบบอื่นได้หรือไม่ 6. เป็นงานที่จำเป็นต้องดำเนินการโดยรัฐทั้งหมดหรือไม่ ภารกิจ/ ประเด็น ใช่ ไม่ใช่ 1. เป็นภารกิจที่มีความคุ้มค่าต่อการใช้ทรัพยากรทางการบริหารหรือไม่ 2. เป็นภารกิจที่จำเป็นต้องปฏิบัติอยู่หรือไม่ 3. เป็นภารกิจที่ไม่ซ้ำซ้อนกับหน่วยงานในภูมิภาคหรือท้องถิ่นใช่หรือไม่ 4. เป็นภารกิจที่เกี่ยวข้องกับ 1) งานวิจัย พัฒนา งานวิชาการ และงานบริหารวิชาการใช่หรือไม่ หรือ 2) งานที่ต้องใช้เทคนิคขั้นสูงหรือวิชาชีพเฉพาะทางที่มุ่งการบริการและให้ประโยชน์ต่อส่วนราชการหรือส่วนร่วมของประเทศหรือไม่ 5. พื้นที่ปฏิบัติของภารกิจจะครอบคลุมพื้นที่มากกว่า 1 จังหวัดหรือไม่ 6. ไม่มีหน่วยงานของกรมที่เป็นราชการส่วนภูมิภาคหรือราชการส่วนกลางในภูมิภาค ใช่หรือไม่ ภารกิจของกรมฯ เป็นภารกิจที่ยังมีความจำเป็นต้องดำเนินการและเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่ต้องคงไว้เป็นภารกิจของรัฐที่ต้องดำเนินการโดยส่วนราชการ ภารกิจของกรมฯ มีแนวทางเป็นไปตามหลักเกณฑ์ของการเป็นราชการบริหารส่วนกลางในภูมิภาค
4
ความจำเป็นในการขอปรับปรุงโครงสร้าง
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES ความจำเป็นในการขอปรับปรุงโครงสร้าง 1. มีหน้าที่ความรับผิดชอบ เพิ่มเติม 2. มีความจำเป็นต้องปรับปรุงระบบการทำงาน 3. ปัญหาจากโครงสร้างส่วนราชการเดิม 4. การแก้ไขปัญหาที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน - ภารกิจตามนโยบายรัฐบาล จัดที่ดินทำกิน ทวงคืนฝืนป่า และการกัดเซาะชายฝั่ง - ภารกิจตามพระราชบัญญัติส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง พ.ศ. 2558 - หน่วยงานส่วนกลางรับผิดชอบเชิงนโยบายและการกำกับดูแลในภาพรวม - หน่วยงานส่วนกลางในภูมิภาครับผิดชอบเชิงระบบนิเวศหรือเขตพื้นที่ - ขาดความยืดหยุ่นและประสิทธิภาพในการบูรณาการ - อัตรากำลังไม่สมดุลและเพียงพอ - ขาดประสิทธิภาพในด้านการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและด้านกฎหมาย มีการจัดตั้งหน่วยงานเป็นการภายใน - กองบริหารจัดการพื้นที่ชายฝั่ง - สำนักงานเลขานุการ คณะกรรมการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง - สำนักงานบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่
5
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES หลักเกณฑ์การกำหนดสำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ราชการส่วนกลางในภูมิภาค รายการข้อมูลเกณฑ์การแบ่งพื้นที่สำนักงาน ข้อมูลจำเพาะของสำนักงาน (น้อย - มาก) 1. ความยาวชายฝั่ง (กิโลเมตร) 2. พื้นที่รับผิดชอบทางบก (ล้านไร่) 0.39 – 2.93 3. จำนวนจังหวัด (จังหวัด) 2 – 3 4. พื้นที่ป่าชายเลน (ไร่) 17, ,000 5. พื้นที่ปะการัง (ไร่) 0 – 45,000 6. พื้นที่หญ้าทะเล (ไร่) 0 – 36,000 7. พื้นที่ป่าชายหาด (ไร่) 0 - 12,000 8. จำนวนเกาะ (แห่ง) 0 – 211 9. จำนวนชายหาดสำคัญ (แห่ง) 3 - 91 พิจารณาจากขนาดพื้นที่ในความรับผิดชอบ ความยาวแนวชายฝั่ง (พื้นที่รับผิดชอบทางทะเลยังไม่มีการจำแนกเขตทางการปกครองเป็นรายจังหวัด) ภัยคุกคามทั้งจากภัยธรรมชาติและจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ จำนวนพื้นที่ของทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (เป็นปัจจัยที่มีการผันแปรเกิดขึ้นได้ตลอด บางพื้นที่ยังมีศักยภาพในการเพิ่มจำนวนพื้นที่ ของทรัพยากรที่ได้มีการสูญเสียไปในอดีต)
6
นโยบายรัฐบาล แผนงานสำคัญของรัฐบาลที่ส่วนราชการต้องรับผิดชอบ
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES นโยบายรัฐบาล แผนงานสำคัญของรัฐบาลที่ส่วนราชการต้องรับผิดชอบ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง : การเชื่อมโยงยุทธศาสตร์ระดับชาติ/กระทรวง/กรมปี พ.ศ. 2561 ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี 5. ด้านการสร้าง การเติบโตบนคุณภาพชีวิต ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม แผนพัฒนาฯ 12 (ปี 60-64) 4. การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน ประเทศไทย 4.0 1. ระบบเศรษฐกิจที่สามารถปรับสภาพตามภูมิอากาศควบคู่ไปกับสังคมคาร์บอนต่ำอย่างเต็มรูปแบบ 2. เปลี่ยนกระบวนทัศน์ (สู่การพัฒนาที่สมดุลตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3. เปลี่ยนจาก Traditional Services ไปสู่ High Value Services ทส.4.0 1. ปรับเปลี่ยนบทบาทจากหน่วยงานปฏิบัติ (Operator) เป็นหน่วยงานกำกับดูแล (Regulator) 2. การสร้างบุคลากรยุคใหม่และเตรียมความพร้อมขององค์กรและบุคลากรเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู่บริบทของโลกที่เปลี่ยนไป (เปลี่ยน mind set ในการทำงาน) 3. เพิ่มประสิทธิภาพและช่องทางในการอำนวยความสะดวกการบริการประชาชน 4. เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความโปร่งใสในองค์กร 5. สร้างเสริมการมีส่วนร่วมและเครือข่ายภาคประชาชนในระดับพื้นที่ 6. การพัฒนาและเชื่อมโยงฐานข้อมูลระดับพื้นที่ เช่น ระดับจังหวัด 7. พัฒนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เช่น Software Application 8. บริหารจัดการสิ่งแวดล้อมและใช้ทรัพยากรในหน่วยงานอย่างคุ้มค่า (ลดการใช้กระดาษ ลดการใช้พลังงาน) 9. สร้างระบบการเข้าถึงและเปิดเผยข้อมูลสู่สาธารณะ SDGs 13. ดำเนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อ ต่อสู้กับการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศและผลกระทบ 14. อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จาก มหาสมุทร ทะเลและทรัพยากร ทางทะเลอย่างยั่งยืนเพื่อการ พัฒนาที่ยั่งยืน 15. ปกป้อง ฟื้นฟู และส่งเสริมการใช้ระบบนิเวศบนบกอย่างยั่งยืน การบริหารจัดการป่าไม้ที่ยั่งยืน การต่อต้านการกลายสภาพเป็น ทะเลทราย หยุดยั้งการเสื่อมโทรมของที่ดินและฟื้นฟูสภาพดิน และหยุดยั้งการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ แผนบูรณาการ 25 แผนงาน 10. แผนงานบูรณาการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนา 15. แผนงานบูรณาการจัดการปัญหาที่ดินทำกิน 18. แผนงานบูรณาการบริหารจัดการขยะและ สิ่งแวดล้อม นโยบายรัฐบาล 9. การรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากรและการสร้างความสมดุลระหว่างการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ ประเทศไทย มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศ ที่พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง อนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็นรากฐานในการพัฒนาอย่างสมดุล อนุรักษ์และใช้ประโยชน์ จากทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ง ให้มีความอุดมสมบูรณ์และยั่งยืน 1. ป้องกันดูแลรักษาพื้นที่ป่าให้คงสภาพ ไม่ให้มีการบุกรุกทำลาย รวมทั้งเฝ้าระวังป้องกันการเกิดไฟป่า 2. การเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ที่เกิดจากพื้นที่เสื่อมโทรม สร้างป่าเศรษฐกิจ 3. เพิ่มความสมบูรณ์ของแนวปะการังแหล่งหญ้าทะเล และระบบนิเวศทางทะเล 4. แก้ไขปัญหาราษฎรในพื้นที่ป่าไม้ อย่างเป็นระบบ และเป็นธรรม 5. ลดอัตราการสูญเสียทรัพยากรธรรมชาติ และความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศลงอย่างมีนัยสำคัญ 2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ เพื่อลดความเสี่ยง จากภัยพิบัติความสูญเสียในชีวิตและทรัพย์สินที่เกิดจาก สาธารณภัยลดลง 1. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการองค์กร และพัฒนา การบริหารจัดการของกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 การลดผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 การพัฒนาระบบบริหารจัดการองค์กร ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การจัดการป่าไม้และความหลากหลายทางชีวภาพ 1. จัดการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง (หาดเลน/หาดทราย) 5 พื้นที่ (ปักไม้ไผ่ 4 พื้นที่ /ถ่ายเททราย 1 พื้นที่) 2. จัดการตรวจสอบ/ป้องกัน ผลกระทบจากโครงสร้างหรือแนวป้องกัน (เดิมที่ก่อสร้างไว้) 7 พื้นที่/ระบบหาด 1. จัดทำกฎหมายลำดับรอง (ออกกฎกระทรวงป่าชายเลนอนุรักษ์/พื้นที่คุ้มครองทรัพยากรทะเล/พื้นที่ใช้มาตรการกัดเซาะชายฝั่ง) ~ 8 พื้นที่ 2. พัฒนานโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ หลักเกณฑ์ ระเบียบ ให้เหมาะสมกับสถานการณ์ ไม่น้อยกว่า 5 เรื่อง . พัฒนาการบริหารจัดการศูนย์ข้อมูลทรัพยากรและชายฝั่งทะเลแห่งชาติ ไม่น้อยกว่า 20 เรื่อง . พัฒนาทักษะเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากร - จนท. ปีละ ≥8 หลักสูตร 500 คน - ชุมชน/กลุ่มเป้าหมาย ปีละไม่น้อยกว่า 150 ครั้ง 2,000 คน 5. พัฒนาเทคโนโลยีฯ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การคุ้มครอง MCR (การบุกรุกป่าชายเลน/ภัยพิบัติทางทะเล/ศูนย์ข้อมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง) ไม่น้อยกว่า 4 เรื่อง 6. ศูนย์ข้อมูลทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งแห่งชาติ เพื่อการพัฒนาและบริหารจัดการ 1 ศูนย์ เป้าหมาย/ ตัวชี้วัด ทช. ประเด็นยุทธศาสตร์/ เป้าหมาย 1. ดูแลรักษาพื้นที่ ป่าชายเลน เพิ่มเป็น 1.54 ล้านไร่ 2. ประกาศกำหนดเขตป่าชายเลนนุรักษ์ 7 กลุ่มป่า 3. จัดทำแผนที่สำรวจรังวัด 678 กม. 1. ทวงคืนป่าชายเลนที่ถูกบุกรุก 15,000 ไร่ 2. เพิ่มพื้นที่ป่าชายเลน 5,000 ไร่ 1. ประกาศพื้นที่คุ้มครองทรัพยากรทางทะเล 2 พื้นที่ 2.เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ระบบนิเวศทะเล (แหล่งหญ้าทะเล 5,000 กอ/ปะการัง 288,000 กิ่ง) 3. จัดทำทุ่นแนวเขต 7 แห่ง 4. จัดทำและวางปะการังเทียม 14 แห่ง 1. จัดที่ดินทำกินให้ ผู้ยากไร้ 5,000 ไร่ 2. จัดที่อยู่อาศัยให้ชุมชน 28 ชุมชน 865 ไร่ 3. จัดทำระเบียบ/มาตรการใช้ระโยชน์ 2 เรื่อง 4. บริหารจัดการขยะทะเลในแหล่งท่องเที่ยว/ ระบบนิเวศ สำคัญ 24 พื้นที่/12 ครั้ง 5. บริหารจัดการศูนย์ช่วยชีวิตสัตว์ทะเลหายาก 200 ตัว/ครั้ง 6. จำนวนสัตว์ทะเลหายาก มีอัตราการรอดตาย เพิ่มขึ้น จุดเน้นการรักษาสมดุลของการอนุรักษ์และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝั่ง นโยบายสำคัญอื่นๆและข้อสั่งการรัฐมนตรี 1. นโยบายด้านสิ่งแวดล้อม - การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์(SEA) - การส่งเสริมสินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 2. นโยบายด้านทรัพยากรธรรมชาติ - ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 4. นโยบายการบริหารจัดการ นโยบายและแผนที่เกี่ยวข้อง 1. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐ 2. ประเด็นการปฏิรูปด้านสิ่งแวดล้อม 3. นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ (พ.ศ – 2564) 4. แผนความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล (พ.ศ – 2564) 5. นโยบายและแผนการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (พ.ศ ) 6. ยุทธศาสตร์กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ระยะ 20 ปี (พ.ศ วิสัยทัศน์ชาติ วิสัยทัศน์กระทรวง วิสัยทัศน์กรม
7
ปริมาณงานของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES ปริมาณงานของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง แผนปฏิบัติ (Action Plan) ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ปี และ 20 ปี (ปี 2560 – 2579)
8
ปริมาณงานของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ต่อ)
DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES ปริมาณงานของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ต่อ) แผนปฏิบัติ (Action Plan) ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ปี และ 20 ปี (ปี 2560 – 2579)
9
ปริมาณงานของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ต่อ)
DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES ปริมาณงานของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ต่อ) แผนปฏิบัติ (Action Plan) ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ปี และ 20 ปี (ปี 2560 – 2579)
10
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES การแบ่งส่วนราชการ โครงสร้างตามกฎกระทรวงการแบ่งส่วนราชการของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ขรก พรก. - 1,166 ลจป ราชการบริหารส่วนกลาง ขรก. - 15 พรก. - 65 สำนักอนุรักษ์ทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่ง ขรก พรก ลจป สำนักอนุรักษ์ทรัพยากร ป่าชายเลน ขรก พรก ลจป สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเล และป่าชายเลน ขรก พรก ลจป. - 28 สำนักงานเลขานุการกรม ขรก พรก ลจป. - กองแผนงาน ขรก พรก ลจป. -
11
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES การแบ่งส่วนราชการของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ขอปรับปรุงใหม่ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ขรก พรก. - 1,166 ลจป หน่วยงาน ส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนกลาง ขรก. - 5 พรก. - 65 กลุ่มตรวจสอบภายใน ขรก. - 5 พรก. - 5 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ขรก. - 5 พรก. - 5 กองกฎหมาย ขรก พรก สำนักงานเลขานุการกรม ขรก พรก กองยุทธศาสตร์และแผนงาน ขรก พรก กองสารสนเทศทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ขรก พรก กองอนุรักษ์ทรัพยากร ทางทะเล ขรก พรก กองอนุรักษ์ทรัพยากร ป่าชายเลน ขรก พรก สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ขรก พรก กองบริหารจัดการ พื้นที่ชายฝั่ง ขรก พรก สำนักงานคณะกรรมการนโยบายและแผนการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งแห่งชาติ ขรก พรก หน่วยงาน ส่วนกลางใน ภูมิภาค สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากร ทางทะเลและชายฝั่งที่ 1- 10 ขรก พรก ลจป
12
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES การเปรียบเทียบการแบ่งส่วนราชการที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่ขอปรับปรุงใหม่ การแบ่งส่วนราชการในปัจจุบัน การแบ่งส่วนราชการใหม่ หมายเหตุ หน่วยงานรายงานตรงต่ออธิบดี - 1) กลุ่มตรวจสอบภายใน จัดตั้งใหม่ 2) กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร ก. ราชการบริหารส่วนกลาง 1) สำนักงานเลขานุการกรม 3) สำนักงานเลขานุการกรม คงเดิม (มีการปรับปรุงโครงสร้าง และภารกิจงานภายใน) 2) กองแผนงาน 4) กองยุทธศาสตร์และแผนงาน คงเดิม (มีการปรับเปลี่ยนชื่อ โครงสร้าง และภารกิจงานภายใน) 5) กองกฎหมาย 3) สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน 6) กองอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน 4) สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 7) กองอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเล 5 ) สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเล และป่าชายเลน 8) สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 9) กองสารสนเทศทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (เป็นการแยกงานศูนย์สารสนเทศ กองแผนงานมาจัดตั้งเป็น ส่วนราชการใหม่) 10) กองบริหารจัดการพื้นที่ชายฝั่ง (เป็นการแยกงานส่วนจัดการที่ดินชายฝั่ง สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งมาจัดตั้งเป็นส่วนราชการใหม่) 11) สำนักงานคณะกรรมการนโยบายและแผนการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งแห่งชาติ
13
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES การเปรียบเทียบการแบ่งส่วนราชการที่มีอยู่ในปัจจุบันและที่ขอปรับปรุงใหม่ การแบ่งส่วนราชการในปัจจุบัน การแบ่งส่วนราชการใหม่ หมายเหตุ ข. ราชการบริหารส่วนกลางในภูมิภาค - 12) สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 1 (ตราด จันทบุรี และ ระยอง) จัดตั้งใหม่ (เป็นการแยกงาน สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรป่าชายเลน สำนักอนุรักษ์ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง และสถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล ชายฝั่งทะเล และป่าชายเลน มาจัดตั้งเป็น ส่วนราชการใหม่) 13) สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 2 (ชลบุรี ฉะเชิงเทรา และสมุทรปราการ) 14) สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 3 (กทม. สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม) 15) สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 4 (เพชรบุรี และ ประจวบคีรีขันธ์) 16) สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 5 (ชุมพร และ สุราษฎร์ธานี) 17) สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 6 (นครศรีธรรมราช พัทลุง และสงขลา) 18) สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 7 (ปัตตานี และนราธิวาส) 19) สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 8 (ระนอง และพังงา) 20) สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 9 (ภูเก็ต และกระบี่) 21) สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 10 (ตรัง และสตูล)
14
กรอบค่าใช้จ่ายล่วงหน้า กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES กรอบค่าใช้จ่ายล่วงหน้า กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
15
ความคุ้มค่าของการจัดตั้ง
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES ความคุ้มค่าของการจัดตั้ง 1. ความคุ้มค่าและประโยชน์ต่อประชาชน 2. ความคุ้มค่าและประโยชน์ต่อส่วนราชการ 3. ความคุ้มค่าและประโยชน์ต่อประเทศชาติ 1 2 3 สามารถเข้าถึงบริการ ได้ง่าย หลากหลายรูปแบบ เข้าถึงและใช้ ประโยชน์ อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม เพิ่มขีดสมรรถนะ ประสิทธิภาพ คุณภาพ การให้บริการ และยกระดับความโปร่งใสในการปฏิบัติราชการ เพิ่มขีดสมรรถนะ ขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลและยุทธศาสตร์ของประเทศกรอบการพัฒนาที่ยั่งยืน - ผลักดันให้บรรลุ วิสัยทัศน์ในการมี ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
16
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES ตัวชี้วัดแสดงผลสัมฤทธิ์ ตัวชี้วัด ค่าเป้าหมายที่คาดหวังภายในปี พ.ศ. 2579 1. ป้องกันดูแลรักษาพื้นที่ป่าชายเลน ล้านไร่ ไม่ให้มีการบุกรุกทำลาย 1.534 ล้านไร่ 2. เพิ่มพื้นที่ป่าชายเลน ร้อยละ 10 (1.687 ล้านไร่) 3. ประกาศพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง 20 แห่ง 4. จัดทำและวางปะการังเทียม 300 แห่ง 5. เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ระบบนิเวศทะเล (แหล่งหญ้าทะเลและปะการัง) หญ้าทะเล 1 ล้านกอ ,ปะการัง 5.76 ล้านกิ่ง 6. จัดที่ดินทำกินให้ผู้ยากไร้ 80,000 ไร่ 7. จัดที่อยู่อาศัยให้ชุมชน 18 จังหวัด 280 ชุมชน 8. บริหารจัดการขยะทะเลในแหล่งท่องเที่ยว/ระบบนิเวศสำคัญ 3,000 ครั้ง 9. จำนวนสัตว์ทะเลหายากได้รับการคุ้มครองให้มีอัตราการรอดตาย ร้อยละ 10 10. ศึกษาและพัฒนารูปแบบเทคนิคการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งที่เหมาะสม กับสภาพพื้นที่ 40 พื้นที่/ หาด 11. ปักไม้ไผ่บรรเทาความรุนแรงคลื่นในพื้นที่หาดเลน 200 กิโลเมตร 12. พัฒนากฎหมายลำดับรอง (ออกกฎกระทรวงพื้นที่ป่าชายเลนอนุรักษ์/ พื้นที่คุ้มครองทรัพยากรทางทะเล/ พื้นที่ใช้มาตรการกัดเซาะชายฝั่ง) 60 พื้นที่ 13. พัฒนานโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ หลักเกณฑ์ ระเบียบให้เหมาะสมกับสถานการณ์ 100 เรื่อง 14. พัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีในการคุ้มครองทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง 20 เรื่อง
17
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ขอบคุณ กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง NOTE: To change the image on this slide, select the picture and delete it. Then click the Pictures icon in the placeholder to insert your own image.
18
สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 1 – 10
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง DEPARTMENT OF MARINE AND COASTAL RESOURCES ตารางแสดงรายละเอียดการเปลี่ยนแปลงอัตรากำลัง สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 1 – 10 หน่วยงาน อัตรากำลัง (คน) ใหม่ ขรก. ลปจ. พรก. สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 1 20 18 80 สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 2 16 7 55 สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 3 56 สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 4 49 สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 5 13 83 สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 6 25 15 81 สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 7 37 สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 8 24 สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 9 21 88 สำนักงานวิจัยและบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 10 30 11 109 รวม 202 137 721
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.