งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

HUM124 พระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาชีวิตและสังคม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "HUM124 พระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาชีวิตและสังคม"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 HUM124 พระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาชีวิตและสังคม
(Buddhism for Life and Social Development)

2 อาจารย์สุภาค สิทธิทองแพง
คณะศิลปศาสตร์ โทรศัพท์ : ต่อ 3301 โทรสาร : มือถือ :

3 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับศาสนาและลัทธิ
1. ความหมายของศาสนา 2. องค์ประกอบของศาสนา 3. ความหมายของลัทธิ 4. ความแตกต่างระหว่างศาสนากับลัทธิ 5. องค์ประกอบของลัทธิ 6. มูลเหตุการเกิดศาสนา

4 ศาสนา (Religion) ความสัมพันธ์, ผูกพัน
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับพระเจ้าเกิดความเคารพ, ศรัทธา ความศรัทธา

5 ความศรัทธาประกอบด้วย
เชื่อว่าพระจ้าหรือเทพเจ้าเป็นผู้สร้างโลกหรือสรรพสิ่งทั้งหมายในโลก เชื่อว่าคำสอนด้านศีลธรรมจรรยาและกฎหมายเป็นสิ่งที่พระเจ้า, เทพเจ้าทรงกำหนด เชื่อคำสอนของพระเจ้าหรือเทพเจ้าโดยไม่ต้องพิสูจน์ อุทิศตนแด่พระเจ้าหรือเทพเจ้า

6 ศาสนา ศาสน์ (สันสกฤต) สาสน์ (บาลี) คำสั่งสอน, คำสอน, การปกครอง คำสั่งสอน คำสั่ง, ข้อห้ามทำความชั่ว เรียกว่าศีล, วินัย คำสอน คำสอน คำแนะนำให้ทำความดี เรียกว่า ธรรม คำสั่ง, คำสอน ศีลธรรม (ข้อห้ามทำความชั่วและคำแนะนำให้ทำความดี)

7 การปกครอง การปกครองจิตใจตนเอง ควบคุมดูแลตนเอง กล่าวตักเตือนตนเอง รับผิดชอบการกระทำทุกอย่างของตน ปกครองจิตใจของตนเอง ไม่ทำชั่วในที่ลับและที่แจ้ง

8 คำสั่งสอนประกอบด้วย ความเชื่อ หลักศีลธรรม ละชั่วทำดี ทำจิตบริสุทธิ์
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู เชื่ออำนาจแห่งพระเจ้า พระพุทธศาสนา เชื่ออำนาจแห่งกรรม คริสต์ศาสนา ศาสนาอิสลาม เชื่ออำนาจแห่งพระเจ้า หลักศีลธรรม ละชั่วทำดี ทำจิตบริสุทธิ์ มีจุดหมาย นิพพาน, นิรันดร พิธีกรรม พิธีบรรพชา; อุปสมบท พิธีรับศีลล้างบาป ศีลมหาสนิท ศีลพลัง พิธีละมาด พิธีรักษาความสำอาด, พิธีเคารพพระเจ้า มีความเข้มงวดในเรื่องความจงรักภักดี

9 องค์ประกอบของศาสนา ศาสดา หลักธรรม นักบวช ปูชนียวัตถุ, ปูชนียสถาน
พิธีกรรม ศาสนิกชน

10 ลัทธิ (Doctrine) การสั่งสอน คำสั่งสอน คติความเชื่อถือ หรือ ความคิดเห็น

11 เปรียบเทียบศาสนา กับลัทธิ
1. เป็นสิ่งที่คิดขึ้นเพื่อประโยชน์สุขแห่ง มวลมนุษย์ 2. มีคำสอนเกี่ยวกับละธรรมเป็นหลัก 3. เกี่ยวข้องกับมนุษย์ทั่วไป 4. คำสอนมีจุดหมาย ลัทธิ 1. เป็นสิ่งที่คิดขึ้นเพื่อประโยชน์สุข เฉพาะบุคคล, เฉพาะกลุ่ม 2. ไม่มีหลักการ 3. เกี่ยวข้องกับบางกลุ่ม 4. จุดหมายสูงสุด สัมพันธ์กับรูปธรรม เท่านั้น

12 ศาสนา ลัทธิ 5. มีสถาบัน, คัมภีร์, คำสอน ไม่เปลี่ยนแปลง 6. มีพิธีกรรม
7. คำสั่งสอนมีลักษณะศักดิ์สิทธิ์เป็นที่ สักการบูชาของศาสนิกชน ลัทธิ 5. มีสถาบัน, คัมภีร์, คำสอน อาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ 6. ไม่จำเป็น 7. แค่มีความเห็นสอดคลอง, จึงไม่มีการ สักการบูชา

13 ศาสนา ลัทธิ 8. มีศาสดา 9. มีสัญลักษณ์ พุทธ – ธงธรรมจักร – พระพุทธรูป
พุทธ – ธงธรรมจักร – พระพุทธรูป คริสต์ – ไม้กางเขน อิสลาม – รูปพระจันทร์เสี้ยว มีดาว 1 ดาว ลัทธิ 8. เจ้าลัทธิประกาศหลักการของตนตาม ทัศนะส่วนตัว

14 มูลเหตุการเกิดศาสนา เกิดจากความไม่รู้ ... เกิดจากความกลัว ...
เกิดจากความต้องศูนย์รวมกำลังใจ ... เกิดจากความต้องการที่พึ่งทางใจ... เกิดจากความต้องการความสงบสุขของสังคม ...

15 ความสำคัญของศาสนา สร้างระเบียบ-ความประพฤติของสมาชิกในสังคม
เป็นที่พึ่งทางใจ ยกระดับจิตใจ ทำคนให้เป็นมนุษย์ สร้างจิตสำนึกในคุณค่าความเป็นมนุษย์

16 เป็นพลังใจสามารถเผชิญชีวิตด้วยความกล้าหาญ เป็นแหล่งกำเนิดจริยธรรม
เป็นพื้นฐานกฎศีลธรรม เป็นบ่อเกิดแห่งศิลปวัฒนธรรม, เกิดวิทยาการต่าง ๆ ทำให้ชีวิตครอบครัวอบอุ่น สร้างมนุษย์สัมพันธ์อันดีต่อกัน

17 ประโยชน์ของศาสนา สนองความต้องการทางจิตในของมนุษย์
สอนให้คนเป็นอิสระจากการครอบงำของกิเลสตัณหา ทำให้มนุษย์ปกครองตนเองได้ทุกสถาน / เวลา สอนให้มนุษย์มีจิตใจสะอาด สอนให้มนุษย์ผู้ประพฤติตามพ้นจากความทุกข์ สอนให้มนุษย์อยู่ร่วมกันเป็นหมู่คณะ ช่วยส่งเสริม, สร้างสรรค์ เกิดผลงานด้านศิลปะ, วัฒนธรรม

18 ศาสนาพราหมณ์ - ฮินดู ก่อนพุทธกาล เป็น ศาสนาพราหมณ์
ก่อนพุทธกาล เป็น ศาสนาพราหมณ์ หลังพุทธกาล เป็น ศาสนาฮินดู ปีก่อน พ.ศ. 900 ปี ความเป็นมาของศาสนาพราหมณ์ เผ่าอารยัน/อริยกะ (ปัญญา + ความสามารถ) แทนที่พวกดั่งเดิม มิลักขะแล้วตั้งเป็น ศาสนาประจำชีวิต นับถือ องค์เทพทั้งหมาย พิธีกรรม – การฆ่าม้าบูชายัญ – ฆ่าโค – ฆ่าช้าง ในยุคพระเวท – ฆ่าคน

19 ยุคอุปนิษัท/มหากาพย์
ยุคครูทั้ง มีการพัฒนามาก ศูนย์กลางอยู่ที่เมืองตักศิลาที่ชุมนุม เรียกว่า ทิศาปาโมกข์

20 พระพุทธศาสนา คติในการศึกษา 3 ทาง ทางตำนาน ทางอภินิหาร ทางธรรมปฏิบัติ
ตำนาน – ทราบเรื่องของพระพุทธเจ้าเป็นมาอย่างไร? อภินิหาร – เห็นวิธีการแสงธรรม เหมาะแก่อุปนิสัย แต่ละ บุคคล ทราบถึงความอัศจรรย์ ในพุทธานุภาพ เกิดเลื่อมใส ปฏิบัติตาม ธรรมปฏิบัติ – ทราบข้อปฏิบัติ เหตุผลที่เป็นจริง ถ่องแท้

21 ประโยชน์การศึกษาพุทธประวัติ
1. พระองค์ได้บำเพ็ญอะไรบ้าง? ตรัสรู้ 2. ประกอบประโยชน์อย่างไร? 3. ประวัติชาติตระกูล เป็นเหตุให้เกิดความเชื่อ/เลื่อมใส (ศรัทธาปสาทะ) นิยมเอาพระองค์เป็นสรณะ

22 สำคัญอย่างไรจึงต้องเรียนรู้
ความงดงาม วิธีการ การดำเนินการ

23 ดินแดน – อินเดีย สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ
ชมพูทวีป ดินแดน – อินเดีย สาธารณรัฐประชาชนบังกลาเทศ สาธารณรัฐอิสลามปากีสถาน ราชอาณาจักรเนปาล ราชาอาณาจักรภูฏาน สาธารณรัฐประชาธิปไตยอัฟกานิสถาน ศรีลังกา

24 การแบ่งชั้นวรรณะ K หมายถึง แขนของประพรหม (นักรบ, นักปกครอง)
พราหมณ์ หมายถึง ปาก (สอน) แพศย์ หมายถึง กระเพาะ (ประกอบอาชีพ) ศูทร หมายถึง เท้า (รับใช้, งานหนัก) แพศย์ + ศูทร = บุตร (จัณฑาล)

25 อาชีพ / การศึกษา K ศึกษายุทธวิธี / การใช้อาวุธ / ฝึกจิต / รักเกียรติ
พราหมณ์ ศึกษา ไตรเพท / เพทางค์ - ฤคเวท บทสรรเสริญ - ยชุรเวท มนต์ / วิธีใช้มนต์ - สามเวท เพลงขับร้อง / สวด

26 เหตุการณ์ในระหว่างพระชนมายุ
ขนานพระนาม เมื่อพระชนมายุได้ 5 วัน พระมารดาสวรรคต เมื่อพระชนมายุได้ 7 วัน ทรงศึกษาศิลปวิทยา เมื่อพระชนมายุได้ 7 วัน ทรงอภิเษกสมรส เมื่อพระชนมายุได้ 16 ปี เสร็จออกทรงผนวชและมีพระโอรส เมื่อพระชนมายุได้ 29 ปี ตรัสรู้ เมื่อพระชนมายุได้ 35 ปี ปรินิพพาน เมื่อพระชนมายุได้ 80 ปี

27 สถานที่สำคัญ สวนลุมพินีวัน เป็นสถานที่ประสูติ
สวนลุมพินีวัน เป็นสถานที่ประสูติ ต้นโพธิ์ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา เป็นสถานที่ตรัสรู้ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน เป็นสถานที่แสดงปฐมเทศนา ปาวาลเจดีย์ เป็นสถานที่ทรงปลงอายุสังขาร สาลวโนทยาน เป็นสถานที่ปรินิพพาน มกุฎพันธเจดีย์ เป็นสถานที่ถวายพระเพลิง


ดาวน์โหลด ppt HUM124 พระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาชีวิตและสังคม

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google