ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRolf Hart ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
6
การวิเคราะห์ มาตรฐานและตัวชี้วัด
เพื่อ กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
7
การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม มฐ./ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนการสอน การวัดผลการเรียนรู้
8
การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม มฐ./ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ สอดคล้องตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ชัดเจน วัดได้ KPA
9
การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม มฐ./ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ฯลฯ บรรลุจุดประสงค์ กิจกรรมการเรียนการสอน ฝึกปฏิบัติผ่านการคิดวิเคราะห์ ศักยภาพผู้เรียน,กลุ่มสาระ
10
การออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาเพิ่มเติม มฐ./ตัวชี้วัด ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ วัดอะไร เครื่องมือที่วัด กิจกรรมการเรียนการสอน วัดอย่างไร เกณฑ์การผ่าน การวัดผลการเรียนรู้
11
Bloom’s Taxonomy Cognitive Domain สร้างสรรค์ ประเมินค่า วิเคราะห์
Higher Order Thinking Cognitive Domain สร้างสรรค์ ประเมินค่า วิเคราะห์ นำไปใช้ เข้าใจ จำ การประเมินค่า ก สังเคราะห์ Lower Order Thinking การวิเคราะห์ การนำไปใช้ ความเข้าใจ ความรู้ Old Version New Version Bloom’s Taxonomy
15
พฤติกรรมบ่งชี้ (คร่าว ๆ ไม่ใช่กฏตายตัว)
กลุ่ม พฤติกรรมบ่งชี้ (คร่าว ๆ ไม่ใช่กฏตายตัว) การจำ remembering ระลึก บอก ระบุ บอกชื่อ ทำซ้ำ คัดลอก เขียนรายการของสิ่งที่เคยเรียนรู้/ผ่านตา ฯลฯ การเข้าใจ understanding แปลความหมาย ถอดความ ยกตัวอย่างเพิ่มเติม สรุปความ อ้างอิง บอกหลักการเบื้องหลัง ฯลฯ การประยุกต์ applying นำไปใช้ ประยุกต์ แก้ไขปัญหา เลือกใช้ นำความรู้ไปใช้ในสถานการณ์ที่ต่างไปจากเดิม ฯลฯ การวิเคราะห์ analyzing เปรียบเทียบ อธิบายลักษณะ บอกความเหมือนความต่าง จำแนก ตรวจสอบ วินิจฉัย หาจุดเปลี่ยน ฯลฯ การประเมินค่า evaluating พิสูจน์หรือตัดสินใจ ตรวจสอบ วิจารณ์ ตัดสิน อภิปราย แก้ต่าง โต้แย้ง เลือก ให้คุณค่า ฯลฯ การสร้างสรรค์ creating ออกแบบ วางแผน ผลิต สร้าง ให้ความเห็นในมุมมองใหม่ ฯลฯ
19
ค 3.1 ม.3/1 ค ม.3/1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 3.1
สาระที่ 3 มาตรฐานข้อที่ 1 ม.3/1 ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ข้อที่ 1
20
การเขียนจุดประสงค์การเรียนรู้
จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) จุดประสงค์การเรียนการสอนที่บอกให้ทราบว่า หลังจากเรียนจบบทนั้นๆ แล้วผู้เรียนสามารถแสดงพฤติกรรม ที่วัดได้ สังเกตได้ ออกมาอย่างไรบ้าง
21
สถานการณ์ หรือ เงื่อนไข
พฤติกรรมที่คาดหวัง (Expected Behavior) สถานการณ์ หรือ เงื่อนไข (Condition) เกณฑ์ (Criteria)
22
พฤติกรรมที่คาดหวัง (Expected Behavior)
สิ่งที่อยากให้นักเรียนแสดงออก เพื่อแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ หลังจากเรียนจบบทเรียนนั้นแล้ว การเรียนพฤติกรรมที่คาดหวังต้องใช้คำกริยาเชิงพฤติกรรม มีความหมายเฉพาะอย่างเดียว ชัดเจน ไม่กำกวม สามารถสังเกตการกระทำได้โดยตรง ดังตัวอย่าง - นักเรียนสามารถคำนวณโจทย์ปัญหาที่กำหนดให้ที่เป็นเศษซ้อนได้ถูกต้อง
23
สถานการณ์ หรือ เงื่อนไข
(Condition) สถานการณ์ หรือ เงื่อนไข (Condition) เพื่อให้จุดประสงค์ที่กำหนดมีความชัดเจน ขึ้น ควรใส่สถานการณ์หรือเงื่อนไขลงไปด้วย ซึ่ง อาจเป็น บทประพันธ์ แบบฝึกหัด สื่อการสอน วัสดุอุปกรณ์ โจทย์ รายการ ดังตัวอย่าง - นักเรียนสามารถคำนวณโจทย์ปัญหาที่กำหนดให้ที่เป็นเศษซ้อนได้ถูกต้อง
24
เกณฑ์ (Criteria) เกณฑ์ (Criteria) ระดับพฤติกรรมที่กำหนด ต้องเกิดขึ้นมากน้อยแค่ ไหนถึงจะยอมรับได้ ดังตัวอย่าง - นักเรียนสามารถคำนวณโจทย์ปัญหาที่กำหนดให้ที่เป็นเศษซ้อน ได้ถูกต้อง
25
มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
ตัวชี้วัด ม.3/1 อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม
26
ค 3.1 ม.3/1 : อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม
Understanding ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย ทรงกลม ลักษณะ สมบัติ
27
จุดประสงค์การเรียนรู้
ค 3.1 ม.3/1 : อธิบายลักษณะและสมบัติของปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย และทรงกลม จุดประสงค์การเรียนรู้ ลักษณะ สมบัติ ปริซึม พีระมิด ทรงกระบอก กรวย ทรงกลม นักเรียนสามารถอธิบาย ลักษณะของ ได้อย่างถูกต้อง นักเรียนสามารถอธิบาย สมบัติของ ได้อย่างถูกต้อง Expected Behavior Condition Criteria
28
ตัวชี้วัด ม.4-6/1 เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ แสดงเซต และนำไปใช้แก้ปัญหา
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (Mathematical Model) อื่นๆ แทนสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา ตัวชี้วัด ม.4-6/1 เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ แสดงเซต และนำไปใช้แก้ปัญหา
29
ค 4.2 ม.4-6/1 : เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ แสดงเซต และนำไปใช้แก้ปัญหา
Understanding เขียน เซต แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ แผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ applying
30
จุดประสงค์การเรียนรู้
ค 4.2 ม.4-6/1 : เขียนแผนภาพเวนน์-ออยเลอร์ แสดงเซตและนำไปใช้แก้ปัญหา จุดประสงค์การเรียนรู้ Understanding applying Expected Behavior นักเรียนสามารถเขียน แผนภาพเวน-ออยเลอร์แสดงเซตที่กำหนดให้ ได้อย่างถูกต้อง Condition นักเรียนสามารถแก้ปัญหาเกี่ยวกับเซตที่กำหนดให้โดยใช้แผนภาพเวน-ออยเลอร์ ได้ถูกต้อง Criteria
31
ประเภทของการประเมิน Assessment of learning ( summative assessment) ใช้ประเมินเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้ เพื่อตัดสินผลการเรียนโดยดูจาก การแสดงออกของนักเรียน Assessment as learning (Formative assessment) เป็นการนำการประเมินมาใช้เป็นวิธีการเรียนรู้หรือเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้ Assessment for learning (Formative assessment) เป็นการประเมินอย่างต่อเนื่องเพื่อให้ได้ข้อมูลในการปรับปรุงทั้งครูและนักเรียน โดยมุ่งประโยชน์ที่เกิดกับนักเรียนเป็นสำคัญ
37
"วินัยเชิงบวก" การสร้างวินัยเชิงบวกเป็นกระบวนการ โน้มน้าวคนให้เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของตนเอง จากพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ ให้เป็นพฤติกรรม ที่พึงประสงค์ อย่างมีเหตุผล ด้วยวิธีที่นุ่มนวล ให้เกียรติ ในศักดิ์ศรีคุณค่าความเป็นคน โดยกระตุ้น ให้เกิดความคิดที่จะเปลี่ยนแปลงตนเอง ไม่ได้เกิดจากการถูกบังคับหรือ ถูกควบคุมเหมือนกับ "การลงโทษ" ที่ควบคุมพฤติกรรมโดยการทำให้เจ็บปวด หรืออับอาย
38
หลัก 7 ประการของการสร้างวินัยเชิงบวก
เคารพศักดิ์ศรีของเด็ก พยายามพัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค์ การมีวินัยในตนเองและบุคลิกลักษณะที่ดี พยายามให้เด็กมีส่วนร่วมมากที่สุด คำนึงความต้องการทางพัฒนาการและคุณภาพชีวิตของเด็ก คำนึงถึงแรงจูงใจและโลกทัศน์ของเด็ก พยายามให้เกิดความยุติธรรม เท่าเทียมกัน ไม่เลือกปฏิบัติ เสริมสร้างความสามัคคีในกลุ่ม
39
การ"จับถูก" เมื่อนักเรียนทำดี และให้รางวัลทันที
คือ หัวใจของการสร้างวินัยเชิงบวก
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.