ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ผลการดำเนินงานโครงการ Rapid Response Team (RRT ) ปี 2560 หอผู้ป่วย NICU 1 โรงพยาบาลนครพิงค์
2
ปัญหาและสาเหตุโดยย่อ
ทารกแรกเกิดกลุ่มเสี่ยง ที่คลอดในโรงพยาบาลนครพิงค์ ได้แก่ ทารกแรกเกิดที่เป็นทารกคลอดก่อนกำหนด (premature baby) และทารกแรกเกิดที่มีความเสี่ยง (high risk newborn) ทารกแรกเกิดกลุ่มดังกล่าวอยู่ในภาวะคุกคามชีวิตขณะคลอดในห้องคลอดหรือห้องผ่าตัด ต้องการการช่วยเหลือตั้งแต่คลอดออกมา โดยการประเมินและให้การช่วยเหลือ จนมีความปลอดภัย ลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต และลดภาวะแทรกซ้อนที่หลีกเลี่ยงได้ จนสามารถย้ายมาอยู่ในหอผู้ป่วยวิฤตทารกแรกเกิด คณะทำงานฯ ได้พัฒนางาน Rapid response team โดยทีม PCT กุมารเวชกรรมและเชื่อมโยงกับ PCT สูติ-นรีเวชกรรม
3
เป้าหมาย เพื่อให้ผู้ป่วยทารกแรกเกิดกลุ่มเสี่ยงที่คลอดในโรงพยาบาลนครพิงค์ ได้รับการช่วยเหลือจากทีม RRT PCT กุมารเวชกรรม อย่างทันเวลาภายในระยะเวลา 10 นาที มีความปลอดภัย และไม่เสียชีวิตโดยไม่คาดคิด
4
กิจกรรมการพัฒนา (1) แนวคิดการออกแบบกิจกรรมการพัฒนามาตรฐาน Rapid response team plus โดยใช้หลัก STABLE program ที่มีการเชื่อมโยงระหว่าง PCT และสหสาขาวิชาชีพ
5
OR & AN ER LR
6
กิจกรรมการพัฒนา (2) ประเด็นการพัฒนา (โครงการต่อเนื่อง)
(2) ประเด็นการพัฒนา (โครงการต่อเนื่อง) 2.1 RRT จาก NICU1 นำข้อมูลและปัญหา อุปสรรคที่พบ มาวิเคราะห์ พบว่าหน่วยงานห้องคลอด ต้องการพัฒนาทักษะด้านการควบคุมอุณหภูมิกายทารก และการใช้เครื่อง Neo puff แล้วนำข้อมูลที่ได้มาวางแผนและพัฒนางาน
8
กิจกรรมการพัฒนา (2) ประเด็นการพัฒนา (โครงการต่อเนื่อง)
(2) ประเด็นการพัฒนา (โครงการต่อเนื่อง) 2.3 จัดทำมาตรฐานรถ emergency สำหรับทารกแรกเกิดในห้องคลอดและห้องผ่าตัด เพื่อให้เป็นมาตรฐาน สะดวกในการใช้งาน 2.4 ให้หอผู้ป่วย NICU ห้องคลอด ห้องผ่าตัด จัดทำถุง Zip lock เพื่อให้ความอบอุ่นแก่ทารกแรกเกิดที่มีน้ำหนักต่ำกว่า 1,500 กรัม
9
กล่อง RRT ถุง Zip lock
10
กิจกรรมการพัฒนา (2) ประเด็นการพัฒนา (โครงการต่อเนื่อง)
(2) ประเด็นการพัฒนา (โครงการต่อเนื่อง) 2.5 CQI แบบประเมินความพร้อมใช้อุปกรณ์/กิจกรรมที่ได้ปฏิบัติ ในการออก RRT โดยกุมารแพทย์ (after action review) โดยเพิ่มรายละเอียดด้านบุคลการที่ออก RRT ระยะเวลาที่ใช้ในการออก RRT
11
กิจกรรมการพัฒนา (2) ประเด็นการพัฒนา (โครงการต่อเนื่อง)
(2) ประเด็นการพัฒนา (โครงการต่อเนื่อง) 2.6 จัดประชุมระหว่าง PCT และสหสาขาวิชาชีพ ทุก 6 เดือน เพื่อให้ทุกส่วนรับทราบผลการดำเนินงาน ร่วมกันแก้ไขปัญหาที่พบอย่างสอดคล้องกับบริบทของแต่ละงาน
12
การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
13
การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
14
การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
15
การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
16
การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
17
ขอบคุณค่ะ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.