ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
รัฐบาลดิจิทัล ดร.ศิริวรรณ หัสสรังสี
2
หัวข้อการบรรยาย ความหมายของรัฐบาลดิจิทัล
ระบบดิจิทัลกับการบริหารจัดการภาครัฐ อิทธิพลของระบบดิจิทัลที่มีต่อการพัฒนาของสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การใช้ประโยชน์จากระบบดิจิทัลเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น การเตรียมความพร้อมต่อผลกระทบ ปัญหา และอุปสรรคจากระบบดิจิทัล
3
ความเชื่อมโยงของแผนและยุทธศาสตร์ระดับชาติ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล
ยุทธศาสตร์ที่ 6 การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ ) ยุทธศาสตร์ที่ 5 การเสริมสร้างความมั่นคงแห่งชาติเพื่อการพัฒนาประเทศสู่ความมั่งคั่งและยั่งยืน ยุทธศาสตร์ที่ 6 การบริหารจัดการในภาครัฐ การป้องกันการทุจริต ประพฤติมิชอบและธรรมาภิบาลในสังคมไทย แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ ) ยุทธศาสตร์ที่ 4 ปรับเปลี่ยนภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล แผนพัฒนาดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคม
7
การปรับเปลี่ยนภาครัฐสู่การเป็นรัฐบาลดิจิทัล
การพัฒนารากฐาน การเปลี่ยนรูปแบบบริการใหม่ให้แก่การทำงานและการให้บริการในภาครัฐ นำไปสู่การลดเอกสารกระดาษในทุกขั้นตอนการดำเนินงาน เพิ่มความสะดวก รวดเร็วและถูกต้อง ก่อให้เกิดความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ ส่งเสริมให้เกิดนวัตกรรมในการบริการโดยมีผู้รับบริการทั้งภาคประชาชนและภาคธุรกิจเป็นศูนย์กลาง ให้ทุกภาคส่วนสามารถเข้าถึงข้อมูลของภาครัฐเพื่อนำไปต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่า สร้างประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคมต่อไป
8
แนวโน้มเทคโนโลยีสำคัญสำหรับรัฐบาลดิจิทัล
Virtual Reality (VR) และ Augmented Reality (AR) Advanced Geographic Information System Big Data Open Data Smart Machine หรือ Artificial Intelligence (AI) Cloud Computing ความปลอดภัยทางไซเบอร์ (Cyber Security) Internet of Things (IoT) เทคโนโลยี Block Chain หรือ Distributed Ledger Technology (DLT)
10
ระดับการพัฒนาสู่รัฐบาลดิจิทัลของหน่วยงานภาครัฐ
E-Government: การให้บริการเฉพาะด้านหรือบางส่วน ผ่านเว็บไซต์ ของหน่วยงาน Open Government: เพิ่มการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยี เผยแพร่ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์สู่สาธารณะ Data-Centric Government: เน้นการสร้างเว็บไซต์หรือระบบที่ให้บริการและตอบสนองผู้ใช้ทุกกลุ่ม ใช้ประโยชน์จากข้อมูลที่เปิดเผย นำเทคโนโลยี มาปรับใช้มากยิ่งขึ้น Fully Digital Government: บูรณาการเทคโนโลยี โครงสร้างพื้นฐานกลาง และแบ่งปันข้อมูล Smart Government: นำเทคโนโลยี Smart Machine มาปรับใช้กับการดำเนินงานและการให้บริการต่าง ๆ
12
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Hardware หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit: CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (Secondary Storage) Software System Software Application Software Peopleware
13
ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์
ข้อมูล (Data) สารสนเทศ (Information) ประมวลผล
14
รูปแบบของสารสนเทศ ข้อความ ตัวเลข รูปภาพ
15
พยากรณ์อากาศสำหรับกรุงเทพฯ และปริมณฑล (ช่วงวันที่ 19-25 พฤศจิกายน 2560)
ในช่วงวันที่ พ.ย. มีเมฆเป็นส่วนมาก โดยมีฝนฟ้าคะนอง ร้อยละ ของพื้นที่ อุณหภูมิต่ำสุด องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด องศาเซลเซียส ส่วนในช่วงวันที่ พ.ย. อากาศเย็น อุณหภูมิจะลดลง 1-3 องศาเซลเซียส กับมีลมแรง อุณหภูมิต่ำสุด องศาเซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด องศาเซลเซียส ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา ( ข้อมูล ณ วันที่ 19 พ.ย. 2560
16
ตัวอย่างสารสนเทศแบบตัวเลข
จำนวนประชากร (31 ธ.ค. 2558) - ชาย - หญิง 64.93 ล้านคน 31.87 ล้านคน 33.06 ล้านคน รายได้เฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน (พ.ศ. 2558) 26,915 บาท ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนต่อครัวเรือน (พ.ศ. 2558) 21,157 บาท ที่มา - ข้อมูลประชากร: กรมการปกครอง ( - ข้อมูลรายได้ รายจ่าย: สำนักงานสถิติแห่งชาติ (
17
ที่มา:ศูนย์ข้อมูลข้อสนเทศสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
จำนวนคดียาเสพติด พ.ศ มีการประกาศนโยบายปราบปรามยาเสพติดอย่างเด็ดขาดในสมัยรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร หรือที่รู้จักในชื่อ ‘สงครามกับยาเสพติด’ ด้วยการใช้มาตรการขั้นเด็ดขาดกับผู้ค้ายาเสพติด ภายในเวลา 3 เดือน (1 กุมภาพันธ์ - 30 เมษายน 2546) แต่จำนวนคดีก็กลับมาพุ่งสูงขึ้นใน พ.ศ.2548 และ ใน พ.ศ.2551 ก็แตะใกล้สถิติเดิมคือ สูงมากกว่า 2 แสนคดีต่อปี เหมือนในช่วง พ.ศ สถานการณ์ตลอดปี 2551 ต่อ ปี 2552 สะท้อนว่าสถานการณ์การระบาดของยาเสพติด โดยเฉพาะยาบ้า กลับมาระบาดหนักอีกครั้งหนึ่ง ที่มา:ศูนย์ข้อมูลข้อสนเทศสำนักงานตำรวจแห่งชาติ
18
ดัชนีรายได้รายจังหวัด ของประเทศไทย ปี 2550
ที่มา: โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติประจำประเทศไทย (UNDP)
21
ปิรามิดประชากรแบบสามเหลี่ยมหน้าจั่ว
22
ปิรามิดประชากรแบบทรงเจดีย์
23
ปิรามิดประชากรแบบรวงผึ้ง
24
ปิรามิดประชากรแบบทรงระฆัง
25
ปิรามิดประชากรแบบทรงพระเกี้ยว
28
คาดการณ์ประชากรประเทศไทยในปี พ.ศ. 2570
ที่มา: รายงานวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรและผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อการพัฒนาประเทศ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กันยายน 2551
29
ตัวอย่างการวิเคราะห์แนวโน้มประชากร
ประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้นเพราะมีอายุยืนขึ้น ประชากรวัยทำงานต้องทำการผลิตเพิ่มมากขึ้นเพื่อนำส่วนเกินไปเลี้ยงดูประชากร ที่พึ่งพาอาศัย (สัดส่วน 3.6 ต่อ 1 ในปี 1995 เป็น 1.9 ต่อ 1 ในปี และคาดว่าจะเป็น 1.4 ต่อ 1 ในปี 2050
30
ปิรามิดประชากร อ.พระนครศรีอยุธยา ณ เดือน ธ.ค. 2560
31
ปิรามิดประชากร อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี ณ เดือน ธ.ค. 2560
32
ปิรามิดประชากร อ.ยะหริ่ง จ.ปัตตานี ณ เดือน ธ.ค. 2560
33
ปิรามิดประชากร อ.เมืองพิษณุโลก ณ เดือน ธ.ค. 2560
34
ปิรามิดประชากร ต.ท่าโพธิ์ อ.เมืองพิษณุโลก ณ เดือน ธ.ค. 2560
35
ปิรามิดประชากร ต.บ้านคลอง อ.เมืองพิษณุโลก ณ เดือน ธ.ค. 2560
36
ปิรามิดประชากร ทต. สุเทพ อ.เมืองเชียงใหม่ ณ เดือน ธ.ค. 2560
37
ปิรามิดประชากร เทศบาลนครเชียงใหม่ ณ เดือน ธ.ค. 2560
38
ข้อมูล จปฐ (ความจำเป็นพื้นฐาน: Family Profile)
เป็นข้อมูลระดับครัวเรือน แสดงลักษณะของสังคมไทยที่พึงประสงค์ตามเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำของเครื่องชี้วัด ทำให้ประชาชนทราบได้ด้วยตนเองว่าในขณะนี้คุณภาพชีวิตของตนเอง ครอบครัว รวมไปถึงหมู่บ้าน/ชุมชน อยู่ในระดับใด มีปัญหาที่จะต้องแก้ไขในเรื่องใดบ้าง ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา โดยผ่านกระบวนการความจำเป็นพื้นฐาน นับตั้งแต่การกำหนดปัญหา ความต้องการที่แท้จริงของชุมชน ค้นหาแนวทางแก้ไขปัญหา ตลอดจนการประเมินผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ใช้เป็นแนวทางในการคัดเลือกโครงการ กิจกรรมต่าง ๆ ให้สอดคล้องกับสภาพปัญหาที่แท้จริงของหมู่บ้าน/ชุมชน สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ รวมทั้งมีการประสานระหว่างสาขาในด้านการปฏิบัติมากขึ้น
39
ตัวชี้วัด จปฐ เพื่อใช้จัดเก็บข้อมูลช่วง ปี 2560-2564
แบ่งออกเป็น 5 หมวด รวม 31 ตัวชี้วัด ได้แก่ สุขภาพ จำนวน 7 ตัวชี้วัด สภาพแวดล้อม จำนวน 7 ตัวชี้วัด การศึกษา จำนวน 5 ตัวชี้วัด การมีงานทำและรายได้ จำนวน 4 ตัวชี้วัด ค่านิยม จำนวน 8 ตัวชี้วัด
40
หมวดที่ 1 สุขภาพ (7 ตัวชี้วัด)
หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงาน หลัก หน่วยงาน ร่วม 1. เด็กแรกเกิดมีน้ำหนัก 2,500 กรัม ขึ้นไป - กระทรวงสาธารณสุข - สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน - หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงมหาดไทย 2. เด็กแรกเกิดได้กินนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือนแรกติดต่อกัน 3. เด็กแรกเกิดถึง 12 ปี ได้รับวัคซีนป้องกันโรคครบตามตาราง สร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค 4. ครัวเรือนกินอาหารถูกสุขลักษณะ ปลอดภัย และได้มาตรฐาน 5. ครัวเรือนมีการใช้ยาเพื่อบำบัด บรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้น อย่างเหมาะสม 6. คนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจสุขภาพประจำปี 7. คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 3 วัน ๆ ละ 30 นาที - กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา - กระทรวง ศึกษาธิการ
41
หมวดที่ 2 สภาพแวดล้อม (7 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานหลัก หน่วยงานร่วม 8. ครัวเรือนมีความมั่นคงในที่อยู่อาศัย และบ้านมีสภาพคงทนถาวร - กระทรวงการพัฒนาสังคม และความมั่นคงของมนุษย์ - กระทรวงมหาดไทย 9. ครัวเรือนมีน้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปี อย่างน้อยคนละ 5 ลิตรต่อวัน - กระทรวงมหาดไทย (สถ.) - กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงสาธารณสุข - หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา 10. ครัวเรือนมีน้ำใช้เพียงพอตลอดปี อย่างน้อยคนละ 45 ลิตรต่อวัน - กระทรวงคมนาคม
42
หมวดที่ 2 สภาพแวดล้อม (7 ตัวชี้วัด) (ต่อ)
ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงาน หลัก หน่วยงานร่วม 11. ครัวเรือนมีการจัดบ้านเรือนเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาด และถูกสุขลักษณะ - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - กระทรวงมหาดไทย 12. ครัวเรือนไม่ถูกรบกวนจากมลพิษ - กระทรวงอุตสาหกรรม - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 13. ครัวเรือนมีการป้องกันอุบัติภัยและภัยธรรมชาติ อย่างถูกวิธี - สำนักนายกรัฐมนตรี - กระทรวงมหาดไทย (ปภ.) - กระทรวงคมนาคม - สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 14. ครัวเรือนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
43
หมวดที่ 3 การศึกษา (5 ตัวชี้วัด)
หมวด/ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงาน หลัก หน่วยงาน ร่วม หมวดที่ 3 การศึกษา มี 5 ตัวชี้วัด 15. เด็กอายุ ปี ได้รับบริการเลี้ยงดูเตรียมความพร้อม ก่อนวัยเรียน - กระทรวงศึกษาธิการ - กระทรวงมหาดไทย (สถ.) - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 16. เด็กอายุ ปี ได้รับการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี - กระทรวงมหาดไทย 17. เด็กจบชั้น ม.3 ได้เรียนต่อชั้น ม.4 หรือเทียบเท่า 18. คนในครัวเรือนที่จบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี ที่ไม่ได้เรียนต่อและยังไม่มีงานทำ ได้รับการฝึกอบรมด้านอาชีพ - กระทรวงอุตสาหกรรม - กระทรวงแรงงาน 19. คนอายุ ปี อ่าน เขียนภาษาไทย และคิดเลข อย่างง่ายได้
44
หมวดที่ 4 การมีงานทำและรายได้ (4 ตัวชี้วัด)
ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานหลัก หน่วยงานร่วม 20. คนอายุ 15 – 59 ปี มีอาชีพและรายได้ - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงมหาดไทย - กระทรวงอุตสาหกรรม - กระทรวงพาณิชย์ - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา 21. คนอายุ 60 ปีขึ้นไป มีอาชีพและรายได้ - กระทรวงแรงงาน - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 22. รายได้เฉลี่ยของคนในครัวเรือนต่อปี - กระทรวงมหาดไทย (พช.) - หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา 23. ครัวเรือนมีการเก็บออมเงิน - กระทรวงวัฒนธรรม - กระทรวงศึกษาธิการ
45
หมวดที่ 5 ค่านิยม (8 ตัวชี้วัด)
หมวด/ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานหลัก หน่วยงานร่วม 24. คนในครัวเรือนไม่ดื่มสุรา - กระทรวงสาธารณสุข - สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ - กระทรวงวัฒนธรรม - กระทรวงมหาดไทย 25. คนในครัวเรือนไม่สูบบุหรี่ 26. คนอายุ 6 ปีขึ้นไป ปฏิบัติกิจกรรมทางศาสนา อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง - สำนักงานพระพุทธศาสนา - กระทรวงศึกษาธิการ
46
หมวดที่ 5 ค่านิยม (8 ตัวชี้วัด) (ต่อ)
หมวด/ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ หน่วยงานหลัก หน่วยงานร่วม 27. ผู้สูงอายุ ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน - กระทรวงสาธารณสุข - กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ - กระทรวงวัฒนธรรม - กระทรวงมหาดไทย 28. ผู้พิการ ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน 29. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้รับการดูแลจากครอบครัว ชุมชน ภาครัฐ หรือภาคเอกชน 30. ครัวเรือนมีส่วนร่วมทำกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของชุมชน หรือท้องถิ่น - กระทรวงมหาดไทย (พช.) - กระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ - กระทรวงศึกษาธิการ - หน่วยบัญชาการทหารพัฒนา 31. ครอบครัวมีความอบอุ่น
47
ประโยชน์ของข้อมูล จปฐ
ประชาชน สามารถทราบข้อมูลสถานการณ์คุณภาพชีวิตของตนเอง และครัวเรือน สามารถเข้าถึงและได้รับสวัสดิการด้านต่าง ๆ จากรัฐ เพราะได้ให้ข้อมูลของตนเองไว้กับภาครัฐ ภาครัฐ สามารถทราบถึงปัญหาที่แท้จริงของประชาชนว่า ครัวเรือน หมู่บ้าน ตำบล อำเภอ จังหวัดใด มีปัญหาในเรื่องอะไร เพื่อสามารถวางแผนพัฒนาให้ตรงตามความต้องการของประชาชน ภาคเอกชน สามารถนำข้อมูลในภาพรวมระดับหมู่บ้าน/ชุมชน ไปใช้ ในการตัดสินใจและวางแผนในการบริหารจัดการเพื่อลงทุนทางธุรกิจ ซึ่งจะมีส่วนสนับสนุน ส่งเสริมการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน อีกทางหนึ่ง
48
ข้อมูล กชช 2 ค (Village Profile)
เป็นข้อมูลพื้นฐานระดับหมู่บ้าน/ชุมชน แสดงถึงสภาพทั่วไปและปัญหาของหมู่บ้าน โดยจัดเป็น 3 ระดับคือ ระดับเร่งรัดพัฒนาอันดับ 1 (ล้าหลัง) ระดับเร่งรัดพัฒนาอันดับ 2 (ปานกลาง) ระดับเร่งรัดพัฒนาอันดับ 3 (ก้าวหน้า)
49
กชช. 2ค ปี 2560-2564 ( 7 ด้าน 33 ตัวชี้วัด)
โครงสร้างพื้นฐาน (7 ตัวชี้วัด) สภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ (7 ตัวชี้วัด) สุขภาวะและอนามัย (3 ตัวชี้วัด) ความรู้และการศึกษา (3 ตัวชี้วัด) การมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของชุมชน (5 ตัวชี้วัด) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (5 ตัวชี้วัด) ความเสี่ยงของชุมชนและภัยพิบัติ (3 ตัวชี้วัด)
50
1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ถนน น้ำดื่ม น้ำใช้ น้ำเพื่อการเกษตร ไฟฟ้า การมีที่ดินทำกิน การติดต่อสื่อสาร
51
ตัวอย่างการให้คะแนน ตัวชี้วัดด้านโครงสร้างพื้นฐาน
เกณฑ์การชี้วัด คะแนน ถนน ถนนเส้นทางหลักภายในหมู่บ้านใช้การได้ดีตลอดทั้งปี 3 ถนนเส้นทางหลักภายในหมู่บ้านใช้การได้ดีเฉพาะในฤดูแล้ง หรือ ใช้การได้พอใช้ตลอดทั้งปี หรือ ใช้การได้พอใช้เฉพาะในฤดูแล้ง 2 ถนนเส้นทางหลักภายในหมู่บ้านใช้การไม่ดีตลอดทั้งปี 1
52
2. ด้านสภาพพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
การมีงานทำ การทำงานในสถานประกอบการ ผลผลิตจากการทำนา ผลผลิตจากการทำไร่ ผลผลิตจากการทำเกษตรอื่น ๆ การประกอบอุตสาหกรรมในครัวเรือน การได้รับประโยชน์จากการมีสถานที่ท่องเที่ยว
53
ตัวอย่างการให้คะแนน ตัวชี้วัดด้านการประกอบอาชีพและมีงานทำ
เกณฑ์การชี้วัด คะแนน การมี งานทำ คนอายุ ปีเต็มมีการประกอบอาชีพและมีรายได้ มากกว่า ร้อยละ 97 ขึ้นไปของคนอายุ ปีเต็มทั้งหมด 3 คนอายุ ปีเต็มมีการประกอบอาชีพและมีรายได้ ร้อยละ ของคนอายุ ปีเต็มทั้งหมด 2 คนอายุ ปีเต็มมีการประกอบอาชีพและมีรายได้ น้อยกว่าร้อยละ 80 ของคนอายุ ปีเต็มทั้งหมด 1 หมายเหตุ ไม่นับคนอายุ ปีเต็มที่กำลังศึกษาอย่างเดียว โดยไม่ได้ประกอบอาชีพ หรือคนพิการที่ไม่สามารถช่วยตนเองได้
54
3. ด้านสุขภาวะและอนามัย
ความปลอดภัยในการทำงาน การป้องกันโรคติดต่อ การกีฬา
55
4. ด้านความรู้และการศึกษา
ระดับการศึกษาของประชาชน อัตราการเรียนต่อของประชาชน การได้รับการศึกษา
56
5. ด้านการมีส่วนร่วมและความเข้มแข็งของชุมชน
การมีส่วนร่วมของชุมชน การรวมกลุ่มของชุมชน การเข้าถึงแหล่งเงินทุน การเรียนรู้โดยชุมชน การได้รับการคุ้มครองทางสังคม
57
6. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
คุณภาพดิน การใช้ประโยชน์ที่ดิน คุณภาพน้ำ การปลูกป่าหรือไม้ยืนต้น การจัดการสภาพสิ่งแวดล้อม
58
7. ความปลอดภัยจากภัยพิบัติและความเสี่ยงของชุมชน
ความปลอดภัยจากยาเสพติด ความปลอดภัยจากภัยพิบัติ ความปลอดภัยจากความเสี่ยงในชุมชน
59
ประโยชน์ของข้อมูล กชช 2 ค
ประชาชน ทราบถึงคุณภาพชีวิต สภาพความเป็นอยู่ และสภาพปัญหาของหมู่บ้าน/ชุมชนของตนเองว่าเป็นอย่างไร ภาครัฐ ใช้ข้อมูลในการวางแผนการติดตามและประเมินผลการพัฒนาชนบท การจัดระดับการพัฒนาของหมู่บ้าน การจัดทำแผนพัฒนา ตลอดจนการกำหนดพื้นที่เป้าหมายในการพัฒนา ภาคเอกชน สามารถนำข้อมูลจาก กชช 2 ค มาใช้ในการตัดสินใจและวางแผนในการบริหารจัดการเพื่อลงทุนทางธุรกิจ
60
การให้คะแนนตัวชี้วัด
ถ้าได้ 1 คะแนน หมายถึง ตัวชี้วัดนั้นมีปัญหามาก (ต่ำกว่าเกณฑ์) ถ้าได้ 2 คะแนน หมายถึง ตัวชี้วัดนั้นมีปัญหาปานกลาง (อยู่ในเกณฑ์) ถ้าได้ 3 คะแนน หมายถึง ตัวชี้วัดนั้นมีปัญหาน้อย/ไม่มีปัญหา (สูงกว่าเกณฑ์)
61
ระดับการพัฒนาของหมู่บ้าน
ถ้าได้ 1 คะแนน จำนวน ตัว จัดเป็นหมู่บ้านเร่งรัดพัฒนาอันดับ 1 (ล้าหลัง) ถ้าได้ 1 คะแนน จำนวน ตัว จัดเป็นหมู่บ้านเร่งรัดพัฒนาอันดับ 2 (ปานกลาง) ถ้าได้ 1 คะแนน จำนวน ตัว จัดเป็นหมู่บ้านเร่งรัดพัฒนาอันดับ 3 (ก้าวหน้า)
62
การจัดลำดับความสำคัญในการแก้ปัญหา
ให้ยึดหมู่บ้านเร่งรัดพัฒนาอันดับ 1 (ล้าหลัง) เป็นเป้าหมายอันดับแรก หมู่บ้านเร่งรัดพัฒนาอันดับ 2 และอันดับ 3 เป็นเป้าหมายถัดไปตามลำดับ กรณีที่มีหมู่บ้านเร่งรัดพัฒนาอันดับ 1 หลายหมู่บ้าน ให้จัดหมู่บ้านที่มีตัวชี้วัดที่ได้คะแนน 1 มากกว่าหมู่บ้านอื่น ๆ อยู่ในลำดับแรกที่ควรได้รับการพิจารณาแก้ไขปัญหาก่อน ถ้ายังมีจำนวนตัวชี้วัดที่ได้คะแนน 1 เท่ากันอีก ให้พิจารณาหมู่บ้านที่มีจำนวนประชากรมากกว่าอยู่ในลำดับแรกที่ควรได้รับการพิจารณาแก้ไขปัญหาก่อน
63
สถานภาพปัจจุบันของข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับประชาชน สำหรับบริการภาครัฐ (1)
64
สถานภาพปัจจุบันของข้อมูลพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับประชาชน สำหรับบริการภาครัฐ (2)
65
แนวทางการพัฒนาบริการภาครัฐสำหรับประชาชน
66
แนวทางการพัฒนาบริการภาครัฐสำหรับประชาชน
70
ระเบียบ กฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล ของประเทศไทย
พระราชบัญญัติการพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พ.ศ. 2560 พระราชบัญญัติการอำนวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ พ.ศ. 2558 พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยการรักษาความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ พ.ศ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ฉ.2 พ.ศ. 2560
75
เป้าหมายเพื่อสร้างประโยชน์ให้ทั้งภาครัฐ เอกชน และประชาชน
ผู้มีรายได้น้อยได้รับสวัสดิการและความช่วยเหลือถูกต้อง รวดเร็ว ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม เข้าถึงบริการทางการเงินขั้นพื้นฐาน (ฝากถอนโอนชำระเงิน) ได้สะดวก ค่าใช้จ่ายต่ำ ทั่วถึง โดยเฉพาะในพื้นที่ห่างไกล แม้อยู่ในพื้นที่ห่างไกลยังสามารถใช้บัตรซื้อสินค้าได้ ไม่ต้องพกเงินสด ชีวิตสะดวก ปลอดภัยไม่ต่างกับคนในเมือง ภาคประชาชน ภาคธุรกิจ ภาครัฐ ระบบชำระเงิน e-Payment มีฐานข้อมูลผู้มีรายได้น้อยสามารถให้ความช่วยเหลือได้ตรงกลุ่มเป้าหมาย ไม่รั่วไหล การรับจ่ายเงินภาครัฐมีประสิทธิภาพ โปร่งใส ตรวจสอบได้ ลดโอกาสทุจริต เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดเก็บภาษี ขยายฐานภาษี รับจ่ายเงินได้สะดวก ต้นทุนต่ำ ผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ เพิ่มความสะดวกในการทำธุรกิจ (ease of doing business) และให้บริการลูกค้า ลดภาระการจัดการเอกสารเกี่ยวกับภาษี โดยใช้ระบบภาษีอิเล็กทรอนิกส์
76
เป้าหมายโครงการ National e-Payment
77
ภาพรวมโครงการ National e-Payment
1) ข้อมูลชำระเงิน 2) ข้อมูลธุรกรรม 3) ข้อมูลภาษี โครงสร้างพื้นฐานระบบการชำระเงิน 1. Any ID Card 2. ขยายการใช้บัตร VAT, WHT, e-Tax Invoice 3. ภาษีอิเล็กทรอนิกส์ สวัสดิการ/เงินช่วยเหลือ การรับจ่ายเงินภาครัฐ 4. e-Payment ภาครัฐ ส่งเสริมการเข้าสู่ e-Payment 5. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และให้ Incentive ระบบการโอนเงินแบบ Any ID : 5 ประเภท ID ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน, เลขที่บัญชีธนาคาร, หมายเลขโทรศัพท์เคลื่อนที่, e-Wallet ID และ Address ลดข้อจำกัดของระบบปัจจุบัน และเพิ่มโอกาสทางธุรกิจให้แก่ภาคส่วนต่าง ๆ อำนวยความสะดวกให้ประชาชน ธุรกิจ และรัฐบาล ส่งเสริมการใช้บัตรเดบิตแทนเงินสด ขยายจุดรับชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ให้ทั่วถึง เป็นช่องทางจ่าย / ใช้เงินสวัสดิการ ได้ข้อมูลภาษีมาพร้อมข้อมูลชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ช่วยขยายฐานภาษี ส่งเสริมระบบภาษีอิเล็กทรอนิกส์ และเพิ่มประสิทธิภาพการจัดทำและนำส่งเอกสารพาณิชย์ จ่ายสวัสดิการภาครัฐแก่ประชาชนโดยใช้เลขที่บัตรประชาชน บูรณาการฐานข้อมูลผู้มีรายได้น้อย รับจ่ายเงินภาครัฐด้วย e-Payment ทุกหน่วยงานร่วมประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชน เพื่อส่งเสริมการใช้ e-Payment ภาครัฐออกมาตรการจูงใจ เพื่อกระตุ้นการใช้ e-Payment แทนเงินสดและเช็ค 4) ข้อมูลสวัสดิการ
78
ปัญหาหลักของการพัฒนาขีดความสามารถเชิงดิจิทัล ของภาครัฐ
แนวทางการพัฒนาภาครัฐไทยสู่รัฐบาลดิจิทัลของหน่วยงานต่าง ๆ ขาดวิสัยทัศน์ที่สอดคล้องกัน ระบบต่าง ๆ ถูกพัฒนาในลักษณะ “ต่างคนต่างทำ” ทำให้ขาดมาตรฐานและไม่สามารถนำมาใช้ร่วมกันได้
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2025 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.