งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เทคนิคให้คำปรึกษาในการเลิกสูบบุหรี่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เทคนิคให้คำปรึกษาในการเลิกสูบบุหรี่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เทคนิคให้คำปรึกษาในการเลิกสูบบุหรี่
โดย นางธนันธร แพงจักร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ

2 ปัญหาการเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่
สถานการณ์/ปัญหา ปัญหาการเจ็บป่วยและเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ 1. ยาสูบคร่าชีวิต หนึ่งในสองของผู้ที่ไม่เลิกสูบ 2. มีผู้เสียชีวิตไปแล้ว 100 ล้านคน ในศตวรรษที่ 20 3. ขณะนี้ทั่วโลกมีผู้เสียชีวิตปีละ 5.4 ล้าน 4. ผู้เสียชีวิตจะเพิ่มเป็น 8 ล้านคนต่อปี ในปี พ.ศ. 2573 5. โดยกว่าร้อยละ 80 ของผู้เสียชีวิตอยู่ในประเทศกำลังพัฒนา 6. คาดการณ์ว่าจะมีผู้เสียชีวิตจากยาสูบ 1,000 ล้านคนในศตวรรษที่ 21 โดยเฉลี่ยแต่ละคน - ป่วยจนสูญเสียคุณภาพชีวิต = 2 ปี เสียชีวิตก่อนเวลา = 12 ปี - ครึ่งหนึ่งจะเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ (ในประเทศที่พัฒนาแล้ว) - หนึ่งในสามจะเสียชีวิตจากโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ (ในโลกที่กำลังพัฒนา) - เกือบ 1 ใน 3 เสียชีวิตก่อนอายุ 60 ปี

3 บุหรี่รูปแบบต่างๆ บุหรี่สายรุ้ง บุหรี่ชูรส บุหรี่ไร้ควัน บารากู่
บุหรี่แบบของการเคี้ยว และ การนัดยาเข้าทางจมูกหรือปาก บุหรี่รูปแบบต่างๆ

4 บุหรี่ไฟฟ้า

5 1. นิโคติน สารพิษอย่างแรงมีฤทธิ์เสพติดได้
โทษของบุหรี่ 1. นิโคติน สารพิษอย่างแรงมีฤทธิ์เสพติดได้ 2. ทาร์หรือน้ำมันดิน สารก่อมะเร็ง ทำให้เล็บมีสีเหลือง 3. คาร์บอนไดซัลไฟด์ โรคผนังเส้นเลือดแดงหนาและแข็งตัว สารพิษในควันบุหรี่ 1. ทาร์หรือน้ำมันดิบ : เป็นคราบเหนียวที่ทำให้เล็บมีสีเหลือง เป็นสารก่อมะเร็ง ร้อยละ 50 ของทาร์จะจับที่ปอด 2. คาร์บอนไดซัลไฟด์ : ทำให้ผนังเส้นเลือดแดงหนาและแข็งขึ้น 3. คาร์บอนมอนออกไซด์ : เหมือนควันจากท่อไอเสียรถยนต์ ทำให้เลือดข้นและหนืดมากขึ้น เป็นสาเหตุ หนึ่งของโรคหัวใจ 4. ไนโตรเจนไดออกไซด์ : ทำลายเยื่อบุถุงลม เป็นสาเหตุหนึ่งของโรคถุงลมโป่งพอง 5. ไฮโดรเจนไซยาไนด์ : ก่อให้เกิดอาการไอ มีเสมหะ หลอดลมอักเสบเรื้อรัง 6. ฟอร์มาลดีไฮด์ : ใช้ดองศพ เป็นสารก่อมะเร็งอย่างแรง

6 คนสูบ ภาวะจิตใจ พฤติกรรม ทางร่างกาย
ทำไมถึงติดบุหรี่ได้ง่าย 1. บุหรี่ทำให้เสพติดสูงกว่าเฮโรอีน 2. สารเสพติด นิโคติน สารปรุงแต่ง ช่วยให้อรรถรสในการสูบดีขึ้น 3. นิโคตินเข้าสู่ปอดเป็นส่วนใหญ่และออกฤทธิ์ที่สมอง กลไกการติดบุหรี่ 1. ทางสังคมหรือความเคยชิน - วงเหล้า กาแฟ - หลังรับประทานอาหาร 2. ภาวะเสพติดทางจิตใจ - ทัศนะความเชื่อ ความรู้สึก - ผ่อนคลาย ความกังวล มีสมาธิ - ความสุขที่ได้จากการสูบบุหรี่ 3. ทางร่างกาย (ติดนิโคติน) เกิดอาการถอนยา คนสูบ พฤติกรรม ภาวะจิตใจ ทางร่างกาย

7 อาการถอนยา 1. อาการรุนแรงในช่วง 3 – 4 วัน และจะหมดไปใน 2 สัปดาห์
2. อาการทางด้านอารมณ์และจิตใจ 3. อยากยา ซึมเศร้า วิตกกังวล กระวนกระวาย หงุดหงิด 4. อาการทางด้านร่างกาย 5. หัวใจเต้นช้าลง และอยากอาหาร น้ำหนักตัวขึ้น 3 กิโลกรัม 6. ไม่มีเรี่ยวแรง ปวดศีรษะ ท้องผูก เหงื่ออก

8 การป้องกันวัยรุ่นไม่ให้ติดบุหรี่ - อัตราการสูบบุหรี่ของประชาชน การเจ็บป่วยและการเสียชีวิตจากการสูบบุหรี่ จะไม่ลด หรือ ลดน้อย ใน 20 ปี การช่วยให้คนที่ติดบุหรี่อยู่แล้วเลิกสูบ - จะลดอัตราการสูบบุหรี่ จะลดอัตราการเจ็บป่วยและเสียชีวิตในปัจจุปัน ต้องทำทั้งสองอย่าง 1. การป้องกันวัยรุ่นไม่ให้ติดบุหรี่ 2. การช่วยให้คนที่ติดบุหรี่อยู่แล้วเลิกสูบ

9 ผลเสียของการติดบุหรี่ในเด็กนักเรียน 1
ผลเสียของการติดบุหรี่ในเด็กนักเรียน 1. ยิ่งติดเมื่ออายุน้อย จะยิ่งติดมาก และเลิกได้ยาก - มีโอกาสที่จะติดยาเสพติดอื่นมาก มีโอกาสที่จะป่วยจากการสูบบุหรี่สูง 2. เป็นสื่อนำไปสู่อบายมุขอื่น - เที่ยวกลางคืน/เล่นการพนัน - เพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร 3. ผลการเรียนจะไม่ดี เกรดเฉลี่ยต่ำกว่า 2 4. เสียบุคลิกภาพ ตัวเหม็น ปากเหม็น

10 หลักสำคัญ 3 ประเด็น ที่ต้องทำพร้อมๆกัน 1
หลักสำคัญ 3 ประเด็น ที่ต้องทำพร้อมๆกัน 1. ทำอย่างไรให้คนสูบบุหรี่เลิกสูบ 2. ทำอย่างไรที่จะไม่ให้มีผู้สูบบุหรี่ใหม่ 3. ทำอย่างไรที่จะสร้างค่านิยมสังคมปลอดบุหรี่ให้เข้มแข็ง

11 สิ่งที่ต้องเฝ้าระวัง 1. การห้ามขายบุหรี่แก่เด็ก อายุต่ำกว่า 20 ปี 2
สิ่งที่ต้องเฝ้าระวัง 1. การห้ามขายบุหรี่แก่เด็ก อายุต่ำกว่า 20 ปี 2. การห้ามแสดงสินค้า ณ จุดขาย 3. การโฆษณาและส่งเสริมการขายบุหรี่ สิ่งที่สำคัญที่ต้องจำไว้ในฐานะการเป็นตัวอย่างสุขภาพ 1. การช่วยให้คนเลิกสูบบุหรี่ 2. การไม่สูบบุหรี่ในบ้าน

12 บุหรี่ที่ขายในปัจจุปัน 1. มีอันตรายมากกว่าเมื่อ 50 ปี
2. มีโอกาสเกิดมะเร็งปอดและถุงลมโป่งพองเพิ่มขึ้นแม้จะสูบน้อยมวนกว่า 3. เสพติดง่ายขึ้น 4. มีอำนาจเสพติดสูงขึ้น 5. เลิกสูบได้ยากขึ้น 6. ความเสี่ยงที่จะเกิดโรคและเสียชีวิตเพิ่มขึ้น

13 บริษัทบุหรี่ออกแบบผลิตภัณฑ์เพื่อดึงดูดนักสูบหน้าใหม่ และให้เกิดการเสพติดยั่งยืน ทำให้เริ่มหัดสูบได้ง่าย โดยเพิ่มความหวาน และลดการระคายเคืองของควันบุหรี่ 1. เติมน้ำตาล 2. เติมกรดเลวูลินิค 3. เติมช็อคโกแลต 4. เติมสารลิควอไรซ์ 5. เติมเมนทอลเพื่อทำให้คอเย็นชา 6. เติมสารขยายหลอดลมเพื่อทำให้สูดควันเข้าปอดได้ง่าย

14 สิ่งที่ทำให้บุหรี่มีอำนาจเสพติดเพิ่มขึ้น 1. เติมนิโคตินเพิ่ม 2
สิ่งที่ทำให้บุหรี่มีอำนาจเสพติดเพิ่มขึ้น 1. เติมนิโคตินเพิ่ม 2. ปรับระดับกรดด่างเพื่อทำให้มีนิโคตินอิสระมากขึ้น 3. เติมน้ำตาลเพื่อเพิ่มอำนาจการเสพติดของนิโคติน 4. เติมแอมโมเนีย เพื่อทำให้นิโคตินขึ้นถึงสมองเร็วขึ้น 5. เติมกรดเลวูลินิคเพื่อทำให้นิโคตินขึ้นถึงสมองเร็วขึ้น

15 กลวิธีในการช่วยเลิกบุหรี่ 1
กลวิธีในการช่วยเลิกบุหรี่ 1. วิธีหักดิบ เลิกด้วยตนเองโดยหยุดบุหรี่ทันที 2. การใช้พฤติกรรมบำบัด 3. การใช้ยาช่วยเลิกบุหรี่ 4. การใช้พฤติกรรมและจิตสังคมบำบัด ร่วมกับยา

16 การเลิกบุหรี่โดยการใช้ยาและสมุนไพร 1
การเลิกบุหรี่โดยการใช้ยาและสมุนไพร 1. ยา เช่น บูโพรไพออน, วาเรนีคลีน,นอร์ทริปไทลีน,ฯลฯ 2. รับประทานผักให้มาก และเลี่ยงอาหารรสเผ็ดจัด (หวาน เค็ม) 3. รับประทานอาหารเท่าเดิม เคี้ยวช้าๆ 4. เมื่อรู้สึกหิวให้ดื่มน้ำหรือรับประทานอาหารผลไม้ที่มีรส เปรี้ยว หรือของขบเคี้ยวที่ไม่หวาน (พระสงฆ์แนะนำมะขามป้อม ลูกสมอ) ขิงแก่ กานพลู มะนาว ยาอม ใบมะขามอ่อน เม็ดมะขามคั่ว มะขามเปียก ไม่แนะนำลูกอมทั่วไป

17 ตัวอย่างการเตรียมมะนาว 1. เลือกมะนาวเปลือกเขียว ล้างให้สะอาด 2
ตัวอย่างการเตรียมมะนาว 1. เลือกมะนาวเปลือกเขียว ล้างให้สะอาด 2. ฝานตามยาว แล้วหั่นตามขวางเป็นชิ้นเล็ก พกติดตัว 3. วิธีใช้ทุกครั้งที่อยากสูบยา ให้นำมะนาวมาอม ดูดจน รสเปรี้ยวหมดแล้วจึงเคี้ยวเปลือกช้าๆจนละเอียด จิบน้ำเล็กน้อย หลังกลืน 4. ระยะเวลา 14 วัน หรือไม่อยากยาสูบอีกต่อไป

18 หลัก 6 ประการในการช่วยให้คนเลิกบุหรี่ 1
หลัก 6 ประการในการช่วยให้คนเลิกบุหรี่ 1. สร้างแรงจูงใจ/หากำลังใจ(สิ่งที่รัก/กลัวมากที่สุด คนใกล้ชิด) 2. กำหนดวัน (วันนี้ดีที่สุด ไม่เกิน 14 วัน) 3. เลือกวิธี (ทิ้งหมด/ค่อยๆลด วางแผนลดให้หมดใน 3 เดือน) 4. วิธีบรรเทาอาการ(ยา+พฤติกรรมบำบัด) 5. ออกกำลังกาย(รีดเหงื่อ สร้างสารสุข) 6. ไม่ท้าทายบุหรี่(ป้องกันการกลับไปสูบ การวางแผนสู้ ทักษะการปฏิเสธ)

19 ทำอย่างไร ถ้ามีอาการหิวบุหรี่ 1
ทำอย่างไร ถ้ามีอาการหิวบุหรี่ 1. อย่าสูบบุหรี่ทันทีที่อยากสูบ ยืดเวลาออกไป 3–5 นาที 2. สูดลมหายใจเข้าออกลึกๆและช้าๆ 2-3 ครั้ง เพื่อคลายเครียด 3. ดื่มน้ำ อมน้ำ อาบน้ำหรือล้างหน้า จะช่วยผ่อนคลาย หงุดหงิด กระวนกระวาย 4. อมน้ำแข็ง ผ้าเย็นเช็ดหน้า/ตัว จะทำให้หายง่วง ดมยาดม ตราส้มโอมือ 5. ให้ทำกิจกรรมอื่น เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ

20 บุหรี่ที่ปลอดภัยที่สุดมีชนิดเดียว คือ บุหรี่ที่ไม่จุดไฟ

21 เทคนิคการให้คำปรึกษาในการเลิกสูบบุหรี่ของบุคลากรสาธารณสุข เทคนิคที่เรียกว่า STAR หรือ 4 ล และ 5 D 1. Set a target quit date (เลือกวัน) ควรกำหนดวันภายใน 2 สัปดาห์ 2. Tell family and others (ลั่นวาจา) 3. Remove all to tobacco correlated products (ละอุปกรณ์) 4. Anticipate challenges (พร้อมลงมือ) ด้วยวิธี 5 D 1. delay อย่าสูบบุหรี่ทันทีที่อยากสูบ ยืดเวลาออกไป 3-5 นาที 2. deep breathe สูดลมหายใจเข้าออกลึกๆและช้าๆ 2-3 นาที คลายเครียด 3. drink water ดื่มน้ำ อาบน้ำ หรือล้างหน้า 4. do something else ทำกิจกรรมอื่น เพื่อเบี่ยงเบนความสนใจ 5. destination คุยกับคนที่รู้ใจ/บอกตัวเองเสมอว่า ตั้งใจเลิกสูบแน่นอน

22 การบริการของหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ในสถานพยาบาลทุกระดับ นอกสถานพยาบาล 1. คลินิกฟ้าใส หรือ คลินิกเลิกบุหรี่ 1. Quitline บริการเลิกบุหรี่ใน จิตเวช/ 2. ร้านขายยา “เภสัชอาสาพาเลิก” คลินิกจิตเวช / ยาเสพติด 3. ทีมเวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน 3. ส่วนหนึ่งของบริการใน คลินิก NCD 4. โครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกบุหรี่ทั่วไทย 4. บริการเลิกบุหรี่สำหรับ ผู้ป่วยใน เทิดไท้องค์ราชัน

23 ขอขอบพระคุณ แพทย์หญิงนันทพร เมฆสวัสดิชัย ผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดสระบุรี นางสาววราภรณ์ อึ้งพานิช รองผู้อำนวยการสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 4 จังหวัดสระบุรี ผศ.พว.กรองจิต วาทีสาธกกิจ อาจารย์จากมูลนิธิรณรงค์เพื่อการไม่สูบบุหรี่


ดาวน์โหลด ppt เทคนิคให้คำปรึกษาในการเลิกสูบบุหรี่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google