งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเบิกจ่ายเงินเดือน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเบิกจ่ายเงินเดือน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเบิกจ่ายเงินเดือน

2 พระราชกฤษฎีกา การจ่ายเงินเดือน เงินปี บำเหน็จ บำนาญ และเงินอื่นในลักษณะเดียวกัน พ.ศ มีผลบังคับใช้ 2 เม.ย. 2535 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ มีผลบังคับใช้ 18 เม.ย. 2549 (ม.4) เงินเดือน หมายความว่า เงินเดือนและเงินอื่นที่มีกำหนดจ่ายเป็นรายเดือนจากเงินงบประมาณรายจ่าย ประเภทงบบุคลากรที่จ่ายในลักษณะเงินเดือน

3 หลักเกณฑ์การจ่ายเงินเดือน
1.จ่ายตามบัญชีถือจ่ายเงินเดือนที่ บก.อนุมัติ (ม.10) 2.กรณีได้รับเงินเดือนไม่เต็มเดือน ให้จ่ายตามจำนวนวันที่มีสิทธิ (ม.11) 3.กรณีบรรจุใหม่/กลับเข้ารับราชการใหม่ จ่ายตั้งแต่วันที่เริ่มเข้าปฏิบัติหน้าที่ราชการ(วันที่รายงานตัว) (ม.12) 4.เลื่อนชั้น/ระดับ/ขั้นเงินเดือน จ่ายตั้งแต่วันที่ระบุในคำสั่ง (ม.13) 5.กรณีให้ดำรงตำแหน่งใหม่ ให้เป็นไปตามคำสั่งของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง (ม.14) 6.กรณีโอนข้าราชการ ให้จ่ายทางสังกัดใหม่ งดจ่ายทางสังกัดเดิม ตั้งแต่วันที่ระบุในคำสั่ง กรณีที่เบิกเงินเดือนทางสังกัดเดิมล่วงล้ำ ให้เบิกทางสังกัดใหม่ใช้หนี้(โดยวิธีเบิกหักผลักส่ง ไม่ให้เบิกเป็นตัวเงิน) (ม.15)

4 หลักเกณฑ์การจ่ายเงินเดือน
7.ละทิ้งหน้าที่โดยไม่มีเหตุอันสมควรหรือหนีราชการ ห้ามจ่ายสำหรับวันที่ละทิ้งหน้าที่หรือหนีราชการนั้น (ม.16) 8.ถูกตัดเงินเดือน ต่อมาได้รับเงินเดือนเพิ่มและยังไม่พ้นโทษ ให้ตัดเงินเดือนตามอัตราเดิมต่อไป (ม.17) 9. กรณีตาย จ่ายถึงวันที่ถึงแก่ความตาย (ม.18) 10.ลาออก จ่ายถึงวันที่ ก่อนลาออก แต่ถ้าถึงกำหนดแล้วยังไม่ได้รับทราบคำสั่งให้ลาออกและผู้นั้นยังคงรับราชการต่อมา ให้จ่ายถึงวันที่รับทราบ หรือควรได้รับทราบคำสั่ง (ม.19(1) ) 11.ให้ออก ปลดออก จ่ายถึงวันที่ ระบุในคำสั่ง แต่ถ้ายังไม่ได้รับทราบคำสั่งและผู้นั้นยังคงรับราชการต่อมา ให้จ่ายถึงวันที่รับทราบ หรือควรได้รับทราบคำสั่ง

5 หลักเกณฑ์การจ่ายเงินเดือน
12.ตามข้อ 10,11 หากจำเป็นต้องส่งมอบงาน ให้จ่ายถึงวันส่งมอบงานเสร็จแต่ต้องไม่เกิน 15 วันนับแต่วันที่ระบุในคำสั่ง หรือวันที่รับทราบ หรือควรได้รับทราบคำสั่ง 13. เกษียณอายุ จ่ายถึงวันสิ้นปีงบประมาณ 14. จ่ายเงินเดือนระหว่างลา ให้เป็นไปตามระเบียบ 15. จ่ายเงินประจำเดือน จ่ายก่อนวันทำการสุดท้ายของเดือน 3 วันทำการ(พรฎ.ปี35 ม.20 แก้ไขโดย ฉ.4 ปี 49 ม.8) 16.กรณีถูกสั่งพักราชการ/ถูกให้ออกจากราชการไว้ก่อน/อุทธรณ์คำสั่งลงโทษ (ให้เป็นไปตาม ขบค.กห.ว่าด้วย (การตัดฯ ปี04 /การสั่งพักฯ ปี 28) )

6 การเบิกจ่ายเงินช่วยพิเศษให้แก่ข้าราชการ
3.เท่าของเงินเดือน (รวม เงินเพิ่มค่าวิชา, เงินค่าฝ่าฯ,พ.ส.ร. และ พ.ป.ผ.)(ม.23) และข้าราชการที่ถูกสั่งพักราชการ/ถูกให้ออกจากราชการไว้ก่อน/อุทธรณ์คำสั่งลงโทษ ถ้ามีสิทธิได้รับเงินเดือน ตาม ม.21และ22 ก็ให้จ่ายเงินช่วยพิเศษด้วยเช่นเดียวกัน ตายในระหว่างละทิ้งหน้าที่โดยไม่มีเหตุอันสมควรหรือหนีราชการ ห้ามมิให้จ่ายเงินช่วยพิเศษ เงินช่วยพิเศษ จ่ายให้กับใคร(ม.24) จ่ายให้แก่ผู้ที่ผู้ตายแสดงเจตนาไว้ ถ้าไม่แสดงเจตนา หรือผู้ที่ถูกแสดงเจตนาไว้ตายไปก่อนหรือตายก่อนที่จะมีการจ่ายเงินช่วยฯ ให้จ่ายแก่ใคร 1.คู่สมรส 2. บุตร และ 3.บิดามารดา (บุคคลในลำดับก่อนยังมีชีวิตอยู่ลำดับถัดไปไม่มีสิทธิ)

7 การขอรับเงินช่วยพิเศษ
(ม.25)ถ้าหน่วยมีความจำเป็นต้องเข้าจัดการศพ เพราะไม่มีผู้ใดเข้าจัดการในเวลาอันควร ให้หน่วยหักเงินค่าจัดการศพ ได้เท่าที่จ่ายจริง ส่วนที่เหลือจ่ายให้แก่ผู้มีสิทธิ ให้ยื่นขอรับภายใน 1 ปีนับแต่วันที่ข้าราชการถึงแก่ความตาย (ม.26)สำหรับข้าราชการที่ถูกสั่งพักราชการ / ถูกให้ออกจากราชการไว้ก่อน / อุทธรณ์คำสั่งลงโทษ ภายใน 1 ปีนับแต่การสิ้นสุดลงของแต่ละกรณี

8 ให้เป็นไปตามข้อบังคับกระทรวงกลาโหม
(พรฎ.เงินเดือน ปี35 ม.36) การจ่ายเงินเดือนระหว่างการลา ของข้าราชการสังกัดกระทรวงกลาโหม ให้เป็นไปตามข้อบังคับกระทรวงกลาโหม

9 หลักเกณฑ์การจ่ายเงินเดือนระหว่างลา
1. ลาป่วย 90/180/270/ วัน(4วันขึ้นไป มีใบรับรองแพทย์) 2. ลาคลอดบุตร วัน(ไม่ต้องมีใบรับรองแพทย์) 3. ลากิจ ข้าราชการ วันทำการ ลากิจเพื่อเลี้ยงดูบุตรให้มีสิทธิลาต่อเนื่องจากการลาคลอดบุตรได้อีก 150 วันทำการ(ไม่มีสิทธิรับเงินเดือน) ทหารกองประจำการ วันทำการ อยู่ในท้องที่กันดารมีโรคภัยชุกชุม ประสบอุบัติ เหตุจากการปฏิบัติราชการ ลาต่อได้อีก 90 วัน ประสบอันตรายตามหน้าที่จากไอพิษ วัตถุมีพิษ ระเบิด ลาต่อได้อีก 180 วัน ประสบอันตรายตามหน้าที่ ในน้ำ อากาศ ใต้ดิน ทั้งขณะขึ้นหรือลง ลาต่อได้อีก 275 วัน ระเบียบ ทบ.ว่าด้วย การลา พ.ศ.2551 ข้าราชการลาไปช่วยภริยาที่คลอดบุตรภายใน30วันหลังคลอด ให้ได้รับ เงินเดือนระหว่างลาไม่เกิน15วัน แต่ถ้าหลัง30วันแล้วไม่ให้รับเงินเดือน

10 หลักเกณฑ์การจ่ายเงินเดือนระหว่างลา
4. ลาพักผ่อนประจำปี / 20 / 30 วันทำการ (ปีแรกบรรจุไม่ครบ 6 เดือน ห้ามลา) 5. ลาบวช / พิธีฮัจย์ วัน (ปฏิบัติงานไม่น้อยกว่า 3 ปีบริบูรณ์ ผู้ที่เคยบวชมาแล้ว จะลาบวชอีกไม่ได้ ลาสิกขาแล้ว ต้องรายงาน ภายใน 5 วัน นับแต่วันลาสิกขา) 6. ลาปฏิบัติหน้าที่องค์กรต่างประเทศ งดเบิก 7. ลาติดตามคู่สมรส 2 ปี/จำเป็นอีกได้ 2 ปี/เกิน4 ปี งดเบิก/งดเบิก/ให้ลาออก รับราชการเกิน 10 ปีขึ้นไปนำวันลาสะสม มารวมกับปีปัจจุบันได้ไม่เกิน 30 วันทำการ สะสมวันลาได้ไม่เกิน 20 วัน

11 การจ่ายเงินบำนาญ(ม.42) ผู้มีสิทธิรับบำนาญถึงแก่ความตาย (ม.42)
การจ่ายเงินบำนาญ จ่ายก่อนวันทำการสุดท้ายของเดือน 5 วันทำการ (พรฎ.ปี35 ม.43 แก้ไขโดย ฉ.4 ปี 49 ม.9) ผู้มีสิทธิรับบำนาญถึงแก่ความตาย (ม.42) - จ่ายเงินบำนาญให้ถึง วันที่ถึงแก่ความตาย - จ่ายเงินช่วยพิเศษ 3 เท่าของบำนาญ รวมเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับเบี้ยหวัดบำนาญ(ชคบ.) ถ้ามี ผู้รับบำนาญจะรับบำนาญไม่ได้จนกว่าจะได้แสดงตน หรือส่งใบรับรองการมีชีวิตแล้ว

12 เงินเดือนเหลือจ่าย(ถือเป็นมรดก)
1. จ่ายเป็นสินสมรสให้คู่สมรสจำนวนครึ่งหนึ่ง 2. จ่ายให้ทายาทโดยชอบธรรม 2.1 บิดา ส่วน 2.2 มารดา ส่วน 2.3 คู่สมรส 1 ส่วน(รวมกับข้อ 1) 2.4 บุตร คนละ 1 ส่วน

13 ข้อบังคับ กห. ว่าด้วยการตัด งด และจ่ายเงินรายเดือนพ. ศ
ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการตัด งด และจ่ายเงินรายเดือนพ.ศ แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉ.2) พ.ศ.2506 (ข้อ 5)ละทิ้งหน้าที่ / รับราชการไม่เต็มเดือน / ลาเกินกำหนด(ข้อบังคับ กห) / ขาด/หนีราชการ ให้ตัดเงินรายเดือน (ข้อ 7)ข้าราชการกลาโหมประจำการ นักเรียนทหาร ทหารกองประจำการ ถูกควบคุมตัวฯ/สั่งพักราชการ ให้งดจ่ายเงินรายเดือนและค่าเช่าบ้าน ไว้ตามวันที่ถูกควบคุมตัวฯ/สั่งพักราชการ ผู้ถูกสั่งพักราชการ ได้ทำงานล่วงเลยวันที่สั่งพัก เพราะยังไม่ได้รับทราบคำสั่ง (ข้อ 8) ให้จ่ายเงินรายเดือนและค่าเช่าบ้านจนถึงวันที่รับทราบ/ควรได้รับทราบคำสั่ง ถ้าจำเป็นต้องมีการส่งมอบงานก็ให้จ่ายได้จนส่งมอบงานเสร็จแต่ต้องไม่เกิน 15 วัน

14 ข้อบังคับ กห. ว่าด้วยการตัด งด และจ่ายเงินรายเดือนพ. ศ
ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการตัด งด และจ่ายเงินรายเดือนพ.ศ แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉ.2) พ.ศ.2506 ผู้ถูกควบคุมตัว หากมีความจำเป็นต้องส่งมอบงาน ในระหว่างถูกควบคุมตัว (ข้อ 8 วรรค 2) ให้จ่ายเงินรายเดือนและค่าเช่าบ้านในระหว่างการส่งมอบงานนั้นด้วยแต่ต้องไม่เกิน 15 วัน ผู้ถูกควบคุมตัว / ผู้ถูกสั่งพักราชการ เมื่อคดีถึงที่สุดแล้ว(ข้อ 9) 1.ไม่ได้กระทำความผิด และไม่มีมลทินมัวหมอง ให้จ่ายเงินฯที่งดจ่ายไว้เต็มจำนวน 2.ไม่ได้กระทำความผิด แต่มีมลทินมัวหมอง หรือมีความผิดแต่รอการกำหนดโทษไว้ หรือกำหนดโทษแต่รอการลงโทษไว้ ให้จ่ายเงินฯที่งดจ่ายไว้ไม่เกินครึ่งหนึ่งของเงินรายเดือนที่ได้รับก่อนวันถูกควบคุมตัว / ถูกสั่งพักราชการ แต่ค่าเช่าบ้านให้จ่ายเต็มจำนวน

15 ข้อบังคับ กห. ว่าด้วยการตัด งด และจ่ายเงินรายเดือนพ. ศ
ข้อบังคับ กห.ว่าด้วยการตัด งด และจ่ายเงินรายเดือนพ.ศ แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉ.2) พ.ศ.2506 ผู้ถูกควบคุมตัว / ผู้ถูกสั่งพักราชการ เมื่อคดีถึงที่สุดแล้ว 3.ได้กระทำความผิดถูกศาลฯลงโทษจำคุก หรือหนักกว่าจำคุกหรือถูกสั่งไล่ออก หรือถูกถอดออกจากยศทหาร หรือถูกสั่งปลดออก หรือถูกให้ออกโดยไม่มีเบี้ยหวัดบำเหน็จบำนาญ ห้ามมิให้จ่ายเงินที่งดไว้ ผู้ถูกควบคุมตัว/ผู้ถูกสั่งพักราชการ ตายก่อนคดีถึงที่สุด(ข้อ 10) ให้ผู้มีอำนาจสั่งบรรจุ ตั้งคณะกรรมการขึ้นพิจารณาและวินิจฉัยเท่าหลักฐานที่มีอยู่ ว่าจะจ่ายเงินที่งดไว้หรือไม่เพียงใด โดยอนุโลมตามข้อ 9 ทหารประจำการ นักเรียนทหาร ทหารกองประจำการ ถูกลงทัณฑ์ตามวินัยทหาร ไม่ถูกตัดเงินเดือน(ข้อ 11)

16 พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539 (กบข.)
พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ (กบข.) กำหนดให้ผู้เข้ารับราชการตั้งแต่ 27 มี.ค.40 ต้องเป็นสมาชิกทุกคน เงินประเดิม - เงินที่รัฐบาลนำส่งเข้าบัญชีสมาชิก กบข. ที่เป็นข้าราชการอยู่ก่อน 27 มี.ค.40 เงินสะสม - เงินที่สมาชิกสะสมเข้ากองทุนเป็นประจำทุกเดือน 3% เงินสมทบ - เงินที่รัฐบาลจ่ายสมทบเข้ากองทุนให้สมาชิก 3% เงินชดเชย - เงินที่รัฐบาลนำส่งเข้ากองทุนเป็นประจำทุกเดือน2%

17 พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ.2539 (กบข.)
พระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ พ.ศ (กบข.) เงินสะสม กบข. สามารถออมเพิ่มได้ รวมแล้วต้องไม่เกิน 15 % ดังนี้ 1.เงินสะสม เดิม 3 % 2. เงินออมเพิ่ม 12 %

18 เงินที่จะได้รับ เมื่อออกจากสมาชิก กบข. เป็นสมาชิกก่อน 27 มี.ค.40
เงินที่จะได้รับ เมื่อออกจากสมาชิก กบข. เป็นสมาชิกก่อน 27 มี.ค.40 1. ออก มีสิทธิได้รับบำนาญ และเลือกรับบำนาญ ได้รับเงิน ประเดิม + สะสม + สมทบ + ชดเชย (รวมดอกผลของเงินทั้ง 4) 2. ออก มีสิทธิได้รับบำนาญ แต่เลือกรับบำเหน็จ ได้รับเงิน สะสม + สมทบ (รวมดอกผลของเงินทั้ง 2) 3. ออก ไม่มีสิทธิได้รับบำนาญ แต่มีสิทธิได้รับเบี้ยหวัด 4. ออก มีสิทธิได้รับรับบำเหน็จ ได้รับเงิน สะสม + สมทบ (รวมดอกผลของเงินทั้ง 2 ) 3.เมื่อย้ายประเภท มีสิทธิได้รับบำนาญ และเลือกรับบำนาญ จะได้รับเงิน ประเดิม + ชดเชย + ดอกผล

19 สมาชิก กบข.เสียชีวิตในระหว่างรับราชการ
ทายาท มีสิทธิได้รับบำเหน็จตกทอด รวมกับ เงินสะสม + เงินสมทบ(รวมดอกผลของเงินทั้ง 2) สูตรการคำนวณบำเหน็จฯ = เงินเดือนสุดท้าย x อายุราชการ (สูตรเดียวกับข้าราชการที่ไม่ได้เป็นสมาชิก) สูตรบำนาญ = เงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย x อายุราชการ 50 แต่ต้องไม่เกิน 70 % ของเงินเดือนเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย

20 เงินได้ต้องคำนวณภาษี
เงินเดือน + เงินเพิ่มที่จ่ายควบกับเงินเดือน + เงินประจำตำแหน่ง + เงินค่ารถประจำตำแหน่ง อื่น ๆ(ถ้ามี) เงินเดือน x 12 = รายได้พึงประเมินทั้งปีที่ต้องเสียภาษี ( ม.ค.-มี.ค., เม.ย.-ก.ย., ต.ค.-ธ.ค.)

21 คำนวณภาษี เงินได้สุทธิ อัตรา ภาษีแต่ละขั้น 1- 100,000 5% ยกเว้น
เงินได้สุทธิ อัตรา ภาษีแต่ละขั้น , % ยกเว้น 100, , % ยกเว้น 150, , % 35,000 500, ,000, % ,000 1,000,001 – 4,000, % ,000 4,000,001 ขึ้นไป %

22 ส่วนลดหย่อน เงินสะสม กบข. (ถ้ามี) ไม่เกิน 500,000.-
เงินสะสม กบข. (ถ้ามี) ไม่เกิน 500,000.- 40 %ของเงินรายได้ แต่ไม่เกิน 60,000.- ส่วนตัว ,000.- คู่สมรสไม่มีรายได้ 30,000.- บุตรศึกษาไม่เกิน 25 ปี 17,000.- บุตรไม่ศึกษา ไม่เกิน20 ปี 15,000.- ประกันชีวิต ( 10ปี ) 100,000.-

23 ส่วนลดหย่อน ดอกเบี้ยชำระเงินกู้ปลูกบ้าน 100,000
ดอกเบี้ยชำระเงินกู้ปลูกบ้าน ,000 อุปการะเลี้ยงดูบิดา (60ปีขึ้นไป) ,000 อุปการะเลี้ยงดูมารดา (60ปีขึ้นไป) ,000 บิดามารดาคู่สมรส คนละ ,000 ซื้อหน่วยลงทุนระยะยาว (5ปี) ,000 RMF/LTF เงินบริจาค ไม่เกิน 10% ของเงินได้สุทธิหลังหักค่าใช้จ่าย

24 จบ


ดาวน์โหลด ppt การเบิกจ่ายเงินเดือน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google