งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Typology of Aged with Illustration (TAI)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Typology of Aged with Illustration (TAI)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Typology of Aged with Illustration (TAI)
ดร.ชุติกาญจน์ ฉัตรรุ่ง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุพรรณบุรี

2 (Typology of Aged with Illustration)
“TAI” คืออะไร (Typology of Aged with Illustration) TAI คือ เครื่องมือที่ใช้ เพื่อการประเมินสภาวะของผู้สูงอายุ จำแนกประเภทผู้สูงอายุโดยใช้รูปภาพประกอบ ริเริ่มโดยศาสตราจารย์ Tai Takahashi ผู้เชี่ยวชาญประเทศญี่ปุ่น

3 ในแต่ละด้าน จะแบ่งเป็น 6 ระดับ 0, 1, 2, 3, 4และ 5
TAI ทำงานอย่างไร TAI ทำงานโดยการประเมินสภาวะทางร่างกาย และจิตใจแ ระบุระดับการทำงานในด้านต่างๆ 4 ด้าน 1. ความสามารถในการเคลื่อนไหว (Mobility) 2. สภาพจิตใจ (Mental) 3. การรับประทานอาหาร (Eating) 4. การขับถ่าย (Toilet) ในแต่ละด้าน จะแบ่งเป็น 6 ระดับ 0, 1, 2, 3, 4และ 5 0 = ไม่ได้หรือทำได้น้อยที่สุด 5 = ทำได้ดี

4 1. ความสามารถในการเคลื่อนไหว (Mobility )
5 เดินขึ้นบันไดได้ TAI: Mobility คะแนน5,4,3 =เคลื่อนไหวร่างกายได้เอง คะแนน2,1,0 = เคลื่อนไหว ร่างกายเอง ไม่ได้ เดินทางราบได้ (โดยไม่ใช้เครื่องช่วย) เดินขึ้นบันไดเอง โดยใช้อุปกรณ์ช่วย 4 เดินทางราบได้โดยต้องช่วย /นั่งรถเข็นไปมาเองได้ 3 2 ลุกขึ้นนั่งยืนมาลงข้างเตียงได้ 1 นอนบนเตียง พลิกตัวไปมาได้ นอนบนเตียง ไม่สามารถพลิกตัว

5 2.สภาพจิตใจ (Mental status)
5 ไม่มีปัญหาสุขภาพจิต มีปัญหาการตัดสินใจและความจำ Orientationดีและไม่มีปัญหาด้านพฤติกรรม 4 ไม่มีปัญหาด้าน การรับรู้แต่มีปัญหา พฤติกรรมจนสร้าง ความรำคาญ 3 TAI: mental status คะแนน 5,4 = สุขภาพจิตปกติ คะแนน 3, 2, 1,0 = มีความแปรปรวนทางจิต 1 Disorientation มีปัญหาด้านพฤติกรรม 2 Disorientation ไม่มีปัญหาพฤติกรรมผิดปกติ ไม่มีการตอบสนอง

6 3. การรับประทานอาหาร (Eating)
5 กินเองได้ดี 4 กินเองได้ แต่หกเลอะเทอะบ้าง TAI: Eating คะแนน 5,4 =การรับประทานอาหารปกติ คะแนน 3, 2, 1,0 = การรับประทานอาหารผิดปกติ 3 ต้องป้อน ไม่มีปัญหาการกลืน 2 ต้องป้อน มีปัญหาการกลืน 1 Feed NG/ gastrostomy tube ให้ IV หรือTPN

7 5 4 3 2 1 การขับถ่าย (Toilet) ใส่สายสวนปัสสาวะ ไปห้องน้ำเองได้
และทำความสะอาดเองได้ TAI: Toilet คะแนน5,4 =การขับถ่ายปกติ คะแนน3,2,1,0 = การขับถ่ายผิดปกติ 4 ไปห้องน้ำเองได้ มีปัญหากลั้นไม่ได้บางครั้ง 3 ช่วยพาไปห้องน้ำและ ช่วยทำความสะอาดหลังถ่าย 2 ต้องใส่ผ้าอ้อม ช่วยในการเปลี่ยน/ใส่ได้ 1 ต้องใส่ผ้าอ้อม ใส่/เปลี่ยน ผ้าอ้อมอย่างยากลำบาก ใส่สายสวนปัสสาวะ

8 TAI ทำงานอย่างไร ผู้สูงอายุจะถูกจำแนกออกเป็นประเภทต่างๆ โดยใช้ตารางของ TAI หลังจากนั้นจะมีการระบุการดูแลที่จำเป็นสำหรับผู้สูงอายุแต่ละประเภท

9 การแบ่งกลุ่มผู้สูงอายุตามระบบ TAI
Border: B มีภาวะเสี่ยง Confused: C สับสน Immobile: I เคลื่อนไหวร่างกายเอง ไม่ได้

10 ตารางจำแนกประเภทผู้สูงอายุพร้อมภาพประกอบ
คะแนน ADL อยู่ที่ 5,4,3= เคลื่อนไหวร่างกายได้เอง การจำแนกประเภท TAI ตามความสามารถในการเคลื่อนไหว คะแนน ADL อยู่ที่ 2 , 1,0 = เคลื่อนไหร่างกายเองไม่ได้ คะแนน ADL อยู่ที่ 5,4= สุขภาพจิตเป็นปกติ การจำแนกประเภทTAI ตามสุขภาพจิต คะแนน ADL อยู่ที่ 3,2,1,0= มีความแปรปรวนทางจิต Confused Group (C) (กลุ่มที่มีความสับสน) Border Group (B) กลุ่มที่เป็นปกติ/เสี่ยง Immobile Group (I) (กลุ่มที่เคลื่อนไหวร่างกายเองไม่ได้) การจำแนกประเภทTAI ตาม สุขภาพจิต,ความสามารถใน การเคลื่อนไหว,การรับประทาน อาหาร,และการขับถ่าย การจำแนกประเภทTAI ตาม ความสามารถในการรับประทานอาหาร และการขับถ่าย การจำแนกประเภทTAI ตาม ความสามารถในการ รับประทานอาหาร

11 การจำแนกประเภทผู้สูงอายุ
B 5 B 4 B 3 คำจำกัดความของประเภทผู้สูงอายุตามการศึกษารูปแบบและสัญลักษณ์พร้อมภาพประกอบ(TAI) พึ่งตนเองได้อย่างสมบูรณ์(ได้ค่าประเมินADLเท่ากับ5ในด้านสุขภาพจิต,ความสามารถในการเคลื่อนไหว,การรับประทานอาหาร,และการขับถ่าย) พึ่งตนเองได้ไม่สมบูรณ์แต่สามารถรับประทานอาหาร และขับถ่ายเองได้ โดยไม่ต้องมีผู้ดูแล พึ่งตนเองไม่ได้และต้องการดูแลในด้าน การรับประทานอาหารและ/หรือการขับถ่าย ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุแต่ละประเภท

12 ด้านการรับประทานอาหารและการขับถ่าย ด้านการรับประทานอาหาร
การจำแนกประเภทผู้สูงอายุ มีความสับสน แต่พึ่งตนเองได้ทั้ง ด้านการรับประทานอาหารและการขับถ่าย C 4 ต้องการการดูแล ด้านการรับประทานอาหาร หรือการขับถ่าย C 3 ต้องการการดูแลทั้ง และการขับถ่าย C 2

13 การจำแนกประเภทผู้สูงอายุ
เคลื่อนไหวไม่ได้แต่พึ่งตนเองได้ด้านการรับทานอาหาร I 3 เคลื่อนไหวไม่ได้และต้องการการดูแลด้านการรับประทานอาหาร แต่กลืนอาหารที่ป้อนให้ได้ตามปกติ I 2 เคลื่อนไหวไม่ได้และ ต้องการดูแลด้านการรับประทานอาหาร มีความผิดปกติในการกลืนอาหารที่ป้อนให้ I 1

14 Classified Disability of Elderly by TAI
Mobility (5,4,3) Mobility (2,1,0) Mental status (5,4) Mental status (3,2,1,0) E ≥ 4 T ≥ 4 E=5 ,T=5 M=5,M=5 E ≤ 3 &/ T ≤ 3 E ≥ 4 T ≥ 4 E 4 T3 E3 T4 E ≤ 3 T ≤ 3 E4 E3 E 0,1,2 B3 C3 C2 I3 I2 B5 B4 C4 I1 M = Mobility , M = Mental status E = Eating , T = Toilet

15 ตารางเปรียบเทียบ Bathel ADL Index TAI Feeding Eating Mobility Transfer
Stair Toilet Bowel Bladder No Mental Grooming Dressing Bathing

16 ของผู้สูงอายุเป็นตัวตั้ง ในการจัดบริการ (Evidence-based)
ทำไม TAI จึงเป็นเครื่องมือที่ใช้ประเมิน อาการที่ปรากฏ ของผู้สูงอายุเป็นตัวตั้ง ในการจัดบริการ (Evidence-based) การประเมินและการระบุการดูแลที่จำเป็นอ้างอิงจากงานวิจัยในสถานพยาบาลหลายแห่ง ในประเทศญี่ปุ่น ซึ่งได้มีการสำรวจว่า “บริการประเภทใดควรจะถูกจัดเตรียมให้กับผู้สูงอายุ ประเภทใด และเป็นเวลาเท่าใดต่อวัน”

17 Classification B: C: I: Fragile Care needed Move Death Independent
Hospital I1 Death

18 กรณีศึกษา ชาย อายุ 83 ปี รูปร่างสมส่วน ลุกจากเตียงได้ เดินช้าๆ โดยใช้ walker ช่วย มีอาการมือสั่น รับประทานอาหารได้แต่ใช้เวลานานในการรับประทานอาหารแต่ละมือ ล้างหน้า แปรงฟัน เข้าห้องน้ำและขับถ่ายเองได้ ลูกช่วยอาบน้ำ และแต่งตัวให้ มีอาการปัสสาวะราด วันละ ครั้ง อุจจาระราด สัปดาห์ละ 1 -2 ครั้ง เวลาอุจจาระราดผู้สูงอายุไม่รู้ว่าตนเองอุจจาระ ผู้สูงอายุทราบว่าอยู่ที่บ้าน แต่จำไม่ได้ว่ารับประทานอาหารและยาหรือยัง ไม่ทราบวัน เดือน ปี จำได้เฉพาะคนในบ้าน ญาติที่นานๆ พบกันจะเรียกชื่อไม่ได้

19 การจำแนกกลุ่มประเภทการให้บริการทาง ด้านสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์
ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง แบ่งเป็น 4 กลุ่ม กลุ่มติดบ้าน (ADL 5-11 คะแนน) - กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่เคลื่อนไหวได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกิน หรือการขับถ่าย ไม่มีภาวะสับสน (B3) - กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่เคลื่อนไหวได้บ้าง มีภาวะสับสน สมองเสื่อม (C2,C3,C4)

20 การจำแนกกลุ่มประเภทการให้บริการทาง ด้านสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์ (ต่อ)
กลุ่มติดเตียง (ADL 0-4 คะแนน) - กลุ่มที่ 3 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ อาจมีปัญหาการกินหรือ การขับถ่ายหรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง (I3) - กลุ่มที่ 4 เคลื่อนไหวเองไม่ได้ เจ็บป่วยรุนแรง หรืออยู่ใน ระยะสุดท้ายของชีวิต (I1,I2)

21 การแบ่งประเภทผู้สูงอายุตามเกณฑ์ สปสช. ADL และ TAI
เคลื่อนไหวเองไม่ได้ และอาจมีปัญหาการกินหรือการขับถ่ายหรือมีอาการเจ็บป่วยรุนแรง (4, บาท /คน/ปี) กลุ่ม 4 ติดเตียง (I1,I2) เคลื่อนไหวเองไม่ได้ มีปัญหาการรับประทานอาหาร (5, ,000 บาท) กลุ่ม 1 ติดบ้าน (B3) เคลื่อนไหวเองได้บ้าง และอาจมีปัญหาการกินหรือการขับถ่าย แต่ไม่มีภาวะสับสน ( ไม่เกิน4000 บาท/คน/ปี ) กลุ่ม 2 ติดบ้าน (C2,C3,C4) เคลื่อนไหวเองได้บ้าง และ อาจมีปัญหาการกินหรือ การขับถ่าย มีภาวะสับสน (3, บาท /คน/ปี )

22 ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง
กิจกรรม กลุ่มที่ 1 กลุ่มที่ 2 กลุ่มที่ 3 กลุ่มที่ 4 1.ประเมินก่อนให้บริการและวางแผน 1 ครั้ง/ปี 2.ให้บริการระยะยาว 1 ครั้ง/เดือน 2 ครั้ง/เดือน 3.บริการดูแลที่บ้าน 1 ครั้ง/สป 2 ครั้ง/สป 4.จัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่จำเป็นตามสภาพผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง 5.ประเมินผลและปรับแผน 6เดือน/ครั้ง 3เดือน/ครั้ง 1เดือน/ครั้ง อัตราการชดเชยค่าบริการ (เหมาจ่าย/คน/ปี) ไม่เกิน 4,000 บาท บาท บาท บาท

23 การดูแลตามความ ต้องการ
(ตัวอย่าง) การจัดแบ่งประเภทประเภท : B3 ระบุ ADL การเคลื่อนไหว 3 สภาพจิตใจ การกิน การใช้ห้องน้ำ 3 ชุดสิทธิประโยชน์ การดูแลตามความ ต้องการ

24 กิจกรรมกลุ่ม ประเมินกรณีศึกษา โดยใช้เครื่องมือ TAI
จำแนกกลุ่มประเภทการให้บริการทางด้านสาธารณสุขตามชุดสิทธิประโยชน์ เปรียบเทียบกรณีศึกษาจากการประเมินด้วยเครื่องมือ ADL และ TAI

25 Thank you for your Attention

26 ชุดสิทธิประโยชน์สำหรับกรณีศึกษา
กิจกรรม Case 1 กลุ่มที่ 1 Case 2 กลุ่มที่ 4 Case 3 Case 4 กลุ่มที่ 4 1.ประเมินก่อนให้บริการและวางแผน 1 ครั้ง/ปี 2.ให้บริการระยะยาว 1 ครั้ง/เดือน 2 ครั้ง/เดือน 3.บริการดูแลที่บ้าน 2 ครั้ง/สป 4.จัดหาอุปกรณ์ทางการแพทย์ ที่จำเป็นตามสภาพผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง 5.ประเมินผลและปรับแผน 6เดือน/ครั้ง 3เดือน/ครั้ง 1เดือน/ครั้ง อัตราการชดเชยค่าบริการ (เหมาจ่าย/คน/ปี) ไม่เกิน 4,000 บาท บาท


ดาวน์โหลด ppt Typology of Aged with Illustration (TAI)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google