ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยΦωτεινή Πολίτης ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการโครงการพัฒนารูปแบบการปลูกฝังคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้เรียนให้เป็น “คนดี มีวินัย” ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.2560 สู่ผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21 ด้วยกระบวนการบริหารจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ 12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
2
“เด็กต้องเรียนความรู้
อบรมความดี ฝึกหัดวินัยให้มีพร้อมแต่เยาว์วัย จึงจะมีความสุขความเจริญได้ ทั้งในวันนี้และวันข้างหน้า” ประมวลพระราชดำรัส/พระบรมราโชวาทบางตอน ณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน 18 ธันวาคม 2522
3
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๖๐
มาตรา 54 วรรค 3 รัฐต้องดำเนินการให้ประชาชนได้รับการศึกษาตามความต้องการในระบบต่างๆ รวมทั้งส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ตลอดชีวิต และจัดให้มีการร่วมมือกัน ระหว่างรัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และภาคเอกชนในการจัดการศึกษาทุกระดับ โดยรัฐมีหน้าที่ดำเนินการ กำกับ ส่งเสริมและสนับสนุนให้การจัดการศึกษาดังกล่าว มีคุณภาพและได้มาตรฐานสากล ทั้งนี้ตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ
4
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๖๐
มาตรา 54 วรรค ๔ การศึกษาทั้งปวงต้องมุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้เป็น คนดี มีวินัย ภูมิใจในชาติ สามารถเชี่ยวชาญได้ตามความถนัดของตน และมีความรับผิดชอบต่อ ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
5
การขับเคลื่อนโครงการ
ใช้ศูนย์แม่ข่าย STAR STEMS เดิม ภาคใต้มี 2 โรงเรียน
6
มุ่งพัฒนาผู้เรียน ตามโครงการจัดการศึกษา เพื่อการมีงานทำ
การเชื่อมโยงกิจกรรม ใช้การบริหารจัดการ ตามแนวโรงเรียนมาตรฐานสากล จัดหลักสูตรการเรียนการสอน ตามโครงการปลูกฝังคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียนสู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มุ่งพัฒนาผู้เรียน ตามโครงการจัดการศึกษา เพื่อการมีงานทำ
7
1 โรงเรียน 1 อาชีพ เพื่อไปแสดงผลงาน เนื่องในงานมหกรรมการศึกษา
เพื่อไปแสดงผลงาน เนื่องในงานมหกรรมการศึกษา ระดับจังหวัด ประมาณเดือน ตุลาคม-พฤศจิกายน 2561 ระดับภาค ประมาณเดือน ธันวาคม 2561 – มกราคม 2562
8
รูปแบบการจัดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ใช้การบริหารจัดการ 7 โมดูล (Module) ใช้กระบวนการเรียนรู้ตามบันได 5 ขั้น Five Steps of Learning (QSCCS) และจัดทำหน่วยการเรียนรู้แบบสหวิทยาการ ซึ่งจะทำให้เกิดการปรับเปลี่ยนการจัดกระบวนการเรียนรู้ จาก Passive Learning มาเป็น Active Learning ส่งผลให้ผู้เรียนมีทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑ ได้แก่ 3Rs + 8Cs 7 โมดูล QSCCS
9
การบริหารจัดการ 7 โมดูล (Module)
โมดูล ๑ สำรวจความต้องการของถิ่นฐานใน ระดับท้องถิ่น โมดูล ๒ การจัดทำหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระดับชั้น (Learning Integration) โมดูล ๗ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไปใช้จัดกระบวนการเรียนรู้ ตามกระบวนการ Five Steps of Learning (QSCCS) โมดูล ๓ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ โมดูล ๖ การพัฒนาสมรรถนะตามสาขาวิชาชีพ และจัดทำ Career Path โมดูล ๔ การจัดกิจกรรมความถนัดและความสนใจเฉพาะทาง (จะเกี่ยวข้องกับ PBL) โมดูล ๕ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
10
ใกล้ตัวนักเรียน นักเรียนคุ้นเคย สังเกตความเป็นวิถีชุมชนของตนเอง
โมดูล ๑ สำรวจความต้องการของถิ่นฐานในระดับท้องถิ่น ใกล้ตัวนักเรียน นักเรียนคุ้นเคย สังเกตความเป็นวิถีชุมชนของตนเอง
11
โมดูล ๒ การจัดทำหน่วยการเรียนรู้บูรณาการระดับชั้น (Learning Integration)
ร่วมกันกำหนด ชื่อ หน่วยบูรณา การ หัวเรื่องใหญ่- ย่อย เนื้อหาสาระ แยกเป็นราย ภาคเรียน นำมาตรฐาน การเรียนรู้และ ตัวชี้วัดที่ ครูผู้สอน แต่ละวิชาได้ วิเคราะห์แล้ว มาเชื่อมโยงสู่ หน่วยการ เรียนรู้บูรณา การ
12
โมดูล ๓ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ
ใช้กระบวนการเรียนรู้ตามบันได ๕ ขั้น (Five Steps of Learning : QSCCS) ใช้ทักษะการสังเกตตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ใช้ทักษะการแก้ปัญหาตามกระบวนการทางคณิตศาสตร์ โดยสอดแทรก ความเป็นคนดี มีวินัยด้วยคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๘ ประการและค่านิยมของคนไทย ๑๒ ประการ เกิดการเปลี่ยนแปลง จาก Passive Learning มาเป็น Active Learning นักเรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
13
*สร้างความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชาชีพ
โมดูล ๔ การจัดกิจกรรมความถนัดและความสนใจเฉพาะทาง (จะเกี่ยวข้องกับ PBL) *สร้างความเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชาชีพ *ใช้โครงงานเป็นฐาน ( Project-based Learning: PBL) (คือวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญที่จะช่วยพัฒนาผู้เรียน ทั้งด้านความรู้และทักษะการทำงานด้วยวิธีการค้นคว้า ใช้ความรู้ในชีวิตจริง มีผลงานที่แสดงให้เห็นถึงศักยภาพที่เกิดจากการเรียนรู้)
14
โมดูล ๕ การวัดและประเมินผลตามสภาพจริง
ควรวัดตามประเภทและระดับขั้นพฤติกรรมที่ระบุไว้ ตามมาตรฐานตัวชี้วัดการเรียนรู้รายวิชา ทั้ง ๓ ด้าน ด้านเจตคติ ( Affective Domain) ด้านทักษะการปฏิบัติ ( Psychomotor Domain) ด้านความรู้ความสามารถ (Cognitive Domain) - การวัดผลไม่ได้ใช้เพื่อการชี้ว่า ได้ หรือ ตก แต่วัดเพื่อประเมินความก้าวหน้าของพัฒนาการด้านการเรียนรู้ของนักเรียนทั้ง ๓ ด้าน
15
โมดูล ๖ การพัฒนาสมรรถนะตามสาขาวิชาชีพและจัดทำ Career Path
โรงเรียนควรเปิดโปรแกรมการเรียนการสอน ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน ให้สถานประกอบการเข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษาในรายวิชาเพิ่มเติม และรายวิชาในกลุ่มสาระการงานอาชีพฯ
16
โมดูล ๗ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไปใช้จัดกระบวนการเรียนรู้ ตามกระบวนการ Five Steps of Learning (QSCCS)
ครู - จัดทำหลักสูตรและหน่วยการเรียนรู้ - จัดกระบวนการเรียนรู้ ตามกระบวนการ Five Steps of Learning - ประชุม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ - วัดผลและประเมินผล นักเรียน - ค้นคว้าหาความรู้ นำเสนอ สื่อสาร จัดเก็บข้อมูล - ใช้เทคโนโลยีให้เป็นไปตาม พ.ร.บ. คอมพิวเตอร์ - มีวิจารณญาณในการเลือกใช้ เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
17
กระบวนการเรียนรู้ตามบันได 5 ขั้น Five Steps of Learning
(QSCCS) Q S C C S
18
Q ขั้นที่ 1 เรียนรู้ด้วยการตั้งคำถาม สงสัย ใคร่รู้ (Learning to Question :Q) ใช้เทคนิค 5 w 1 H Who ใคร (ในเรื่องนั้นมีใครบ้าง) What ทำอะไร (แต่ละคนทำอะไรบ้าง) Where ที่ไหน (เหตุการณ์หรือสิ่งที่ทำนั้นอยู่ที่ไหน) When เมื่อไหร่ (เหตุการณ์หรือสิ่งที่ทำนั้นทำเมื่อวัน เดือน ปี ใด) Why ทำไม (เหตุใดจึงได้ทำสิ่งนั้น หรือเกิดเหตุการณ์นั้นๆ) How อย่างไร (เหตุการณ์หรือสิ่งที่ทำนั้นเป็นอย่างไรบ้าง)
19
ขั้นที่ ๒ - เรียนรู้ด้วยการแสวงหา สืบเสาะ ค้นคว้า(Learning to Search : S)
องค์กรที่จัดให้บริการสารสนเทศแก่ผู้ใช้โดยตรง เช่น ห้องสมุด , พิพิธภัณฑ์ , หอจดหมายเหตุ , และหอศิลป์ แหล่งอื่นที่ไม่ได้บริการโดยตรง เช่น บุคคล สถานที่ เหตุการณ์ แหล่งสืบค้น Online เช่น อินเทอร์เน็ต
20
เรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ สรุป (Learning to Construct : C)
ขั้นที่ ๓ เรียนรู้เพื่อสร้างองค์ความรู้ สรุป (Learning to Construct : C) ความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดจากบุคคลอื่น ความรู้เกิดจากประสบการณ์การทำงาน ความรู้ที่ได้จากการวิจัยทดลอง ความรู้จากการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ความรู้ที่มีปรากฏอยู่ในแหล่งความรู้ภายนอกโรงเรียน และนักเรียนได้นำมาใช้ แหล่งกำเนิดขององค์ความรู้
21
วาจา ตาราง ( Tabular Presentation ) คลังความรู้ KM ในเว็บไซต์
ขั้นที่ ๔ เรียนรู้เพื่อการสื่อสาร สัมพันธ์ (Learning to Communicate : C) รายงานวิจัย /บทความ ( Text Presentation) ตาราง ( Tabular Presentation ) กราฟหรือแผนภูมิ (Graphical Presentation) ) วาจา คลังความรู้ KM ในเว็บไซต์
22
ขั้นที่ ๕ เรียนรู้เพื่อตอบแทนสังคม การให้บริการ (Serve : S)
เมื่อมีความรู้ ความ เข้าใจ มีทักษะแล้วสามารถ บอก สาธิต ขยายผล ช่วยเหลือ ผู้อื่น และตอบแทนสังคม ได้
23
มาเป็น Active Learning
การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามบันได 5 ขั้น จะส่งผลลัพธ์ที่ได้คือสามารถปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอนจาก Passive Learning (ครูบอกให้รู้ ผู้เรียนฟัง ท่องจำมาสอบ) มาเป็น Active Learning (ผู้เรียนสงสัย คิดหาค้นคว้าคำตอบ ลงมือทำด้วยตนเอง โดยมีครูคอยเป็นที่ปรึกษาอย่างใกล้ชิด)
24
ส่งผลให้เกิดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕ ประการ
จากการดำเนินงานโดยใช้การบริหาร จัดการ ๗ โมดูล กระบวนการเรียนรู้ตามบันได ๕ ขั้น บูรณาการกับคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผู้เรียน ๘ ประการ ค่านิยม ๑๒ ประการตามนโยบายของ คสช. ส่งผลให้เกิดสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕ ประการ นักเรียนมีทักษะการเรียนรู้ (Learning Skills) ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ได้แก่ 3Rs + 8Cs
25
33Rs ๑. Reading (อ่านออก - มีนิสัยรักการ อ่าน จับใจความได้)
๒. (W)Riting (เขียนได้ - เขียนสื่อ ความได้ ย่อความเป็น) ๓. (A)Rithmetics (คิดเลขเป็น - มี ทักษะการคิดแบบนามธรรม-ครูต้อง สอนโดยใช้สิ่งที่เห็นด้วยความคิด ให้ นักเรียนได้เรียนรู้ได้ง่าย ได้เล่นของเล่น ที่จำเป็น เล่นเป็นขั้นตอน มีการใช้ ความคิด เช่น เลโก้ ตัวต่อจิ๊กซอว์ บอร์ดเกม เกมการ์ด)
26
๑. Critical Thinking & Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ปัญหา)
๒. Creativity & Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)) ๓. Collaboration, Teamwork & Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ) ๔. Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) ๕. Communication, Information & Media Literacy (2-3ภาษา ทักษะด้านการสื่อสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) ๖. Computing & Media Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) ๗. Career & Learning Self-reliance (ทักษะอาชีพและทักษะการเรียนรู้) ๘. Change (ทักษะการเปลี่ยนแปลง) 8Cs
27
แนวทางการจัดทำหลักสูตรบูรณาการเพื่อปลูกฝังคุณลักษณะ อันพึงประสงค์ของผู้เรียน ให้เป็น “คนดี มีวินัย” ฯ สู่ผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
28
หลักสูตร คือ แผนการจัดการศึกษาที่กำหนดไว้อย่างมีเป้าหมาย เป็นลายลักษณ์อักษร มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ มีทักษะ มีสมรรถนะ หรือความสามารถ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ที่ต้องการ ให้ผู้เรียนเป็นคนเก่ง คนดี อยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
29
การบูรณาการ เป็นการผสมผสาน เชื่อมโยงหลักสูตรที่ประกอบ ไปด้วย เนื้อหาสาระ กระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล คุณลักษณะอันพึงประสงค์เข้าด้วยกันกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ในระดับชั้นเดียวกัน โดยคำนึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล และความสามารถทางสติปัญญา ในที่นี้จะใช้การบูรณาการแบบ สหวิทยาการ ใช้รูปแบบ Webbed
30
Webbed คือ รูปแบบการบูรณาการระหว่างวิชาหลายวิชา มีการกำหนดหัวข้อเรื่อง(Theme) ขึ้นมาแล้วเชื่อมโยงไปสู่วิชาต่างๆ ว่ามีประเด็นหรือเนื้อหาสาระใดที่พิจารณาเห็นว่ามีความสัมพันธ์กัน คล้ายคลึงกัน หรือ ต่อเนื่องกันที่จะสามารถนำมาจัดรวมเป็นหัวข้อเรื่องเดียวกัน เพื่อที่จะได้สอนรวมกันไปได้อย่างกลมกลืน
31
การพัฒนาผู้เรียนให้เป็น คนดี มีวินัยสู่ผู้เรียน ในศตวรรษที่ 21
กระบวนการเรียนรู้ตามบันได ๕ ขั้น
32
1 ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ใบงานที่ ใบงานที่ ใบงานที่ ใบงานที่ ใบงานที่ ใบงานที่
เป้าหมายท้าทายของเรา ใบงานที่ 1 ใบงานที่ ๒ ใบงานที่ ๓ ใบงานที่ ๔ ใบงานที่ ๕ ใบงานที่ ๖ ผังมโนทัศน์หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ วิเคราะห์หลักสูตรเชื่อมโยงสู่ หน่วยการเรียนรู้ บูรณาการ โครงสร้าง หน่วยการเรียนรู้ บูรณาการ คำอธิบาย หน่วยการเรียนรู้ บูรณาการ Roadmap การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บูรณาการ สู่อาชีพ หน่วยการเรียนรู้ บูรณาการ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.