ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยวิริยะ สมิท ได้เปลี่ยน 5 ปีที่แล้ว
1
การดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาของจังหวัดพะเยา
นพ. นเรศฤทธิ์ ขัดธะสีมา นายแพทย์เชี่ยวชาญด้านเวชกรรมป้องกัน สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพะเยา 15 ธ.ค. 59
2
“ขัวบุญ วัดติโลการาม กว๊านพะเยา”
3
จังหวัดพะเยา พะเยา (S) ภูซาง(F3) เชียงคำ(M1) แม่ใจ(F2) จุน(F2)
รพท. 2 แห่ง รพช. 5+2 แห่ง รพ.สต. 94 แห่ง สสช. 15 แห่ง ดอกคำใต้(F2)
4
อัตราเกิด อัตราตาย ต่อประชากรพันคน จังหวัดพะเยา ปีงบประมาณ 2536 – 58
4
5
อายุคาดเฉลี่ย จังหวัดพะเยา ปีงบประมาณ 2541 – 58
อัตรา
6
โครงสร้างประชากรและแนวโน้ม
ปี2548 ปี2552 ปี2542 ชาย หญิง หญิง ชาย หญิง ชาย ชาย ชาย ปี2558 ปี2573 ชาย หญิง ชาย หญิง จากพีระมิดประชากรฐานกว้างมาเป็นพีระมิดประชากรฐานแคบ ทำให้จังหวัดพะเยาก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุมาตั้งแต่ปี การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรที่มีผู้สูงอายุมากขึ้น ปี 56=14.14, ปี 57=16.01 ปี 58=17.03
7
อัตราตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดพะเยา ปี 2554-58
อัตราตายด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดพะเยา ปี แหล่งข้อมูล : ข้อมูล มรณบัตร
8
อัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดพะเยา ปี 2554-58
อัตราป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดพะเยา ปี แหล่งข้อมูล : รายงาน ผู้ป่วยใน ของ รพ.
9
ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง DM จ.พะเยา ปีงบประมาณ 2558-59
แหล่งข้อมูล : HDC (7/12/59)
10
ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรอง HT จ.พะเยา ปีงบประมาณ 2558-59
แหล่งข้อมูล : HDC (7/12/59)
11
การประเมิน CVD Risk ในผู้ป่วย DM/ HT (90%) จ
แหล่งข้อมูล : คลัง NCD (8/12/59)
12
DM/HT ตรวจคัดกรอง CKD (90%)
จ. พะเยา ปีงบประมาณ แหล่งข้อมูล : HDC (9/12/59)
13
ประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไปคัดกรอง BMI≥ 25กก/ม2 จ.พะเยา ปีงบประมาณ 2558-59
แหล่งข้อมูล : HDC (7/12/59)
14
รอบเอวปกติประชาชนอายุ 30 -59 ปี (ช≤90 cm/ญ≤80cm) จ
วัดรอบเอว ปี 58 = 148,239 คน วัดรอบเอว ปี 59 = 119,736 คน แหล่งข้อมูล : HDC (10/12/59)
15
อัตราป่วยรายใหม่ DM จังหวัดพะเยา ปีงบประมาณ 2558-59
ต่อประชากรแสนคน แหล่งข้อมูล: HDC 3 ตค.59
16
อัตราป่วยรายใหม่ HT จังหวัดพะเยา ปีงบประมาณ 2558-59
ต่อประชากรแสนคน แหล่งข้อมูล : HDC 3 ตค.59
17
ร้อยละผู้ป่วย DM ควบคุมระดับน้ำตาลได้ จังหวัดพะเยา ปีงบประมาณ 2559 (40%)
แหล่งข้อมูล : HDC ณ วันที่ 5 ตค. 59
18
ร้อยละผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี ปี 57-59 (จากฐานข้อมูลHDC )
ที่มา : ณ วันที่ 15 ต.ค.60
19
ร้อยละผู้ป่วย HT ควบคุม BP ได้ จังหวัดพะเยา ปีงบประมาณ 2559 (50%)
แหล่งข้อมูล : HDC ณ วันที่ 5 ตค. 59
20
ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ปี 57-59 (จากฐานข้อมูลHDC )
ที่มา : ณ วันที่ 15 ต.ค.60
21
ความชุกของผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ประชากรอายุ ปี เขตสุขภาพที่ 1 อันดับ1 ที่มา :สำนักงานสถิติแห่งชาติ : 2554
22
ความชุกของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เขตสุขภาพที่ 1
ความชุกของการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัด 15-19 ปี ≥ 20 ปี ร้อยละ ลำดับที่ พะเยา 30.4 1 56.4 แพร่ 25.7 4 53.0 2 น่าน 23.9 7 49.3 5 เชียงใหม่ 19.6 12 52.6 3 แม่ฮ่องสอน 18.8 16 40.9 17 เชียงราย 18.5 42.7 14 ลำปาง 17.5 21 46.2 8 ลำพูน 16.5 25 39.5 ประเทศ ที่มา :สำนักงานสถิติแห่งชาติ : 2554
23
ดัชนีความเสี่ยงต่อปัญหาแอลกอฮอล์ เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัด
ค่าดัชนีความเสี่ยง ลำดับ พะเยา 0.766 1 แพร่ 0.681 3 เชียงใหม่ 0.66 5 เชียงราย 0.648 6 ลำปาง 0.626 9 แม่ฮ่องสอน 0.597 10 น่าน 0.529 27 ลำพูน 0.489 35 เขต 0.625 ที่มา :สำนักงานสถิติแห่งชาติ : 2554
24
กลไกลนโยบายและทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานยังไม่เพียงพอและขาดความต่อเนื่อง
2) การมีระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพที่ยังขาดคุณภาพ ไม่ครอบคลุมและยังมีความซ้ำซ้อนและปัญหาการขาดกระบวนการตรวจสอบคุณภาพข้อมูล 3) การขาดระบบจัดการข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ และปัญหาการเข้าถึงข้อมูลและการใช้ประโยชน์จากข้อมูล อันเนื่องมาจากการไม่เข้าใจประโยชน์ของข้อมูลที่จะช่วยในการตัดสินใจ
25
กรอบการทำแผนยุทธศาสตร์แบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (BSC)
1. การวิเคราะห์ความจำเป็นทางยุทธศาสตร์ 8. สรุปผล ดำเนินการพัฒนาต่อเนื่อง 7. Do/Check/Action 6. M&E: Target/KPI 2. กำหนดจุดยืนทางยุทธศาสตร์ เชื่อมโยงความสมดุลทรัพยากรทางยุทธศาสตร์ -ภารกิจโครงสร้าง -บุคลากร -IT -leadership 3. ประเมินศักยภาพขององค์กร (SWOT) 4.Vision/Mission/Goal/Target/Output 5. การแปลงยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ Strategic/Master Plan/ Action Plan
27
PA ปี 2560 กระทรวงสาธารณสุข
1. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย 2. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน และส่วนสูงเฉลี่ยที่อายุ 5 ปี 3. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี 4. ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ แผนงานที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย แผนงานที่ 2 การป้องกันควบคุมโรค 5. ร้อยละของตำบลในการคัดกรองโรคพยาธิใบไม้ตับ (โครงการพระราชดำริ) 6. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำ 7. อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน 8. อัตราผู้ป่วยความดันโลหิตสูงและ/หรือเบาหวานรายใหม่ P&P Excellence แผนงานที่ 3 ควบคุมปัจจัยเสี่ยง คุ้มครองผู้บริโภค 9. ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย 10. ร้อยละของผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการตรวจสอบได้มาตรฐานตามเกณฑ์ที่กำหนด แผนงานที่ 4 การดูแลสิ่งแวดล้อม 11. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital
28
PA ปี 2560 กระทรวงสาธารณสุข
แผนงานที่ 5 การพัฒนาระบบการแพทย์ปฐมภูมิ 12. ร้อยละของพื้นที่ที่มีคลินิกหมอครอบครัว (Primary Care Cluster) 13. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง 14. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ 15. ลดระยะเวลารอคอย ผ่าตัด เคมีบำบัด รังสีรักษา ของมะเร็ง 5 อันดับแรก 16. อัตราตายจากโรคมะเร็งตับ 17. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ 18. ร้อยละของผู้ป่วย CKD ที่มีอัตราการลดลงของ eGFR<4 ml/min/1.73m2/yr 19. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงที่ขึ้นทะเบียนได้รับการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) 20. ร้อยละของโรงพยาบาลที่ใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล แผนงานที่ 6 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Excellence แผนงานที่ 7 ระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ครบวงจรและระบบการส่งต่อ 21. ร้อยละของโรงพยาบาล F2 ขึ้นไป ที่มีระบบ ECS คุณภาพ แผนงานที่ 8 การพัฒนาคุณภาพหน่วยงานบริการด้านสุขภาพ 22. ร้อยละของหน่วยบริการที่ผ่านการรับรองคุณภาพโรงพยาบาล (HA) 23. ร้อยละของ รพ.สต. ในแต่ละอำเภอที่ผ่านเกณฑ์ระดับการพัฒนาคุณภาพ
29
Chronic Care Model (Edward H. Wagner, 1999)
31
กรอบการวิเคราะห์และจัดทำแผนบูรณาการ NCDs
Pre-Hospital Hospital Post-Hospital - Self Awareness - Screening - Warning sign - NCD Quality Clinic - Behavior Change - Self Control - Continuous LTC General Pop - Risk Group - Disease Complication
32
GAP/จุดเน้น ระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ
รูปแบบ/ทักษะกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยง เครื่องมือประเมินเพื่อการพัฒนากระบวนการคุณภาพ NCDs Clinic/ทักษะการประเมินตามมาตรฐาน บุคลากรในการบริหารจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเชิงระบบ (System Manager VS. Case Manager)
35
คุณภาพข้อมูล 43 แฟ้ม ความแตกต่างของข้อมูล ประชากรสัญชาติไทย
จากแฟ้ม Person (Type Area 1,3) เทียบกับฐานทะเบียนราษฎร์ฐานข้อมูล HDC ณ วันที่ 8 พฤศจิกายน 2559
36
10 อันดับจังหวัดที่มีความแตกต่างมากที่สุด
ร้อยละของส่วนต่าง 1. อุบลราชธานี 74.66 2. เชียงราย 66.75 3. พะเยา 44.40 4. นนทบุรี 34.75 5. ลำพูน 29.08 6. อุดรธานี 27.73 7. ชลบุรี 21.01 8. สมุทรสาคร 20.28 9. เชียงใหม่ 19.80 10. ลำปาง 17.59
37
เปรียบเทียบฐานทะเบียนราษฎร์ เขตสุขภาพที่ 1
Person (Type 1+2) เปรียบเทียบฐานทะเบียนราษฎร์ เขตสุขภาพที่ 1 จังหวัด ฐานทะเบียนราษฎร์ (A) Type 1+2 (B) ร้อยละ ส่วนต่าง A/B 1 2 1+2 1. เชียงใหม่ 1,728,918 1,264,752 175,149 1,439,901 16.72 2.แม่ฮ่องสอน 273,944 191,852 41,411 233,263 14.85 3. พะเยา 481,922 422,888 121,722 544,610 13.01 4. น่าน 479,534 416,828 118,179 535,007 11.57 5. เชียงราย 1,278,148 962,998 229,475 1,192,473 6.7 6. ลำพูน 406,328 385,305 36,167 421,472 3.73 7. แพร่ 452,169 331,489 112,463 443,952 1.82 8. ลำปาง 752,110 577,511 164,085 741,596 1.4 รวม 5,853,073 4,553,623 998,651 5,552,274 5.14 ข้อมูลจาก HDC: 8 พฤศจิกายน 2559
38
เปรียบเทียบฐานทะเบียนราษฎร์ จังหวัดพะเยา
Person (Type 1+2) เปรียบเทียบฐานทะเบียนราษฎร์ จังหวัดพะเยา อำเภอ ฐานทะเบียนราษฎร์ (A) Type 1+2 (B) ร้อยละ ส่วนต่าง A/B 1 2 1+2 1. เชียงม่วน 19,016 2,805 8,288 31,093 63.51 2. ภูซาง 32,129 37,597 3,907 41,504 29.18 3. เชียงคำ 77,147 6,089 9,103 95,192 23.39 4. แม่ใจ 34,278 9,395 2,563 41,958 22.41 5. เมือง 124,296 20,291 21,183 141,474 13.82 6. จุน 50,271 4,477 1,839 46,316 7.87 7. ปง 52,979 40,412 13,732 54,144 2.2 8. ดอกคำใต้ 70,391 57,201 14,448 71,649 1.79 9. ภูกามยาว 21,415 14,621 6,659 21,280 0.63 รวม 481,922 422,888 121,722 544,610 13.01 ข้อมูลจาก HDC จังหวัดพะเยา: 8 พฤศจิกายน 2559
39
เปรียบเทียบฐานทะเบียนราษฎร์ จังหวัดพะเยา (2)
Person (Type 1+2) เปรียบเทียบฐานทะเบียนราษฎร์ จังหวัดพะเยา (2) อำเภอ ฐานทะเบียนราษฎร์ (A) Type 1+2 (B) ร้อยละ ส่วนต่าง A/B 1 2 1+2 ภูซาง 32,129 31,335 3,620 34,955 8.80 จุน 50,271 34,583 12,145 46,728 7.05 เชียงคำ 77,147 56,961 24,132 81,093 5.11 เมือง 124,296 100,755 18,725 119,480 3.87 เชียงม่วน 19,016 13,590 4,766 18,356 3.47 ภูกามยาว 21,415 14,973 6,933 21,906 2.29 ปง 52,979 40,213 13,916 54,129 2.17 ดอกคำใต้ 70,391 57,194 14,474 71,668 1.81 แม่ใจ 34,278 24,064 9,870 33,934 1.00 รวม 481,922 373,668 108,581 482,249 0.07 ข้อมูลจาก HDC จังหวัดพะเยา: 30 พฤศจิกายน 2559
40
Breaking Point
41
District Health Data Center Primary Data Quality Control
NHIS RHDC การจัดตั้ง DHDC เพิ่มขึ้นมาให้ชัดเจนในโครงสร้าง เนื่องจากหลายพื้นที่ ยังไม่มีศูนย์ข้อมูลข่าวสารระดับอำเภอ ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะช่วยให้การกำกับติดตามและดูแลสารสนเทศในภาพของอำเภอด้วย หากระดับอำเภอเข้มแข็งจะส่งผลให้ข้อมูลทุกระดับ ตั้งแต่ จังหวัด เขต กระทรวง มีคุณภาพ สามารถนำข้อมูลใช้ในการพัฒนา 4E ให้มีประสิทธิภาพ แต่สิ่งที่สำคัญที่สุดที่ต้องดำเนินการคือ การบริหารจัดการสารสนเทศระบบบริการสุขภาพ ทุกระดับ ให้มีมาตรการกำกับติดตามชัดเจน ทำได้จริง วัดผลได้ PHDC District Health Data Center (DHDC) Primary Data Quality Control
42
PM/CIPO การ cleansing และverify ข้อมูลคุณภาพระดับพื้นฐานจำเป็นที่สุด ส่งผลถึงการ Process และการ Analyze ข้อมูลเอาไปใช้งาน สิ่งที่ควรเกิดขึ้นคือ การQuality control ทุกขั้นตอน 1 กำหนดมาตรฐาน 2 ประเมิน กำกับ ติดตาม คนสำคัญที่จะไม่รู้หน้าที่ของตนเองไม่ได้ คือ PM (ต้องมีคุณภาพ สามารถกำกับติดตาม ประเมินผลข้อมูลได้ )
43
PERT Chart: NCDs จังหวัดพะเยา ปี 60
3 Month 6 Month 9 Month Risk Communication Public/Self Awareness Screening Warning sign Health Promotion Gap Assessment CCM Self Care Gap Process Development SM/ Tool NCD Quality Clinic Curriculum Review Literature Program Implementation Program Model Development Behavior Change Empowerment Motivation Interview
47
มาตรการ ปี 60 ตามกรอบ 6BB ตค พย ธค มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย
Behavioral Change Program Model Development Health Workforce: System Manager Material: - NCD Clinic Tool Information: CIO (DHDC) Financial: CFO Governance: -DSM/PSM M&E&C -PHB/SPB
50
“ขอขอบคุณและสวัสดีครับ”
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.